Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา เตียง 15 ผู้ป่วยเพศ ชาย อายุ 81 ปี, นางสาวศศิธร มั่นยา…
กรณีศึกษา เตียง 15
ผู้ป่วยเพศ ชาย อายุ 81 ปี
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน (Present illness)
1 สัปดาห์ก่อน มีอาการหอบเหนื่อย หายใจลำบาก มาตรวจห้องฉุกเฉิน แพทย์ให้การรักษา ด้วยการพ้นยา ดูดเสมหะ ให้กลับบ้านแล้วนัดให้มาตรวจวันนี้ด้วยเรื่องหายใจลำบาก
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล (Chief complainte)
มีอาการเหนื่อยหอบ หายใจลำบาก วันนี้แพทย์นัดมาตรวจเรื่องหายใจลำบาก
การวินิจฉัยโรคแรกรับ : CA Hypophalynx
(มะเร็งกล่องเสียงและคอหอยส่วนล่าง)
พยาธิสภาพของโรค
กล่องเสียงจะมี cell พวก Squamous cell carcinoma เมื่อได้รับการกระตุ้นจากปัจจัยที่ เป็นสาเหตุทำให้เกิดการอักเสบจนเซลล์เยื่อบุเปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็งลุกลามแพร่กระจายจน อุดกล่องเสียงทำให้หายใจไม่สะดวกหรือลุกลามไปยัง อวัยวะข้างเคียง ได้แก่ หลอดเลือดแดงใหญ่ ของลำคอทำให้เกิดเลือดออกมากผิดปกติ หรือกดหลอดอาหารทำให้ไม่สามารถกลืน อาหารได้เป็นต้นหรือเกิดจากการแพร่ กระจายจากมะเร็งตำแหน่งอื่น ๆ
เช่น ต่อมลูกหมาก
อาการแสดง
ด้วยพยาธิสภาพของโรคส่งผลให้ผู้ป่วยมีลักษณะใบหน้าและเปลือกตาบวม เนื่องจากเกิดการ obstruction
ของหลอดเลือดแดง (External Carotid Artery) มีภาวะกลืนลำบาก หายใจลำบาก เนื่องจากมีก้อนบริเวณต่อมน้ำเหลืองที่คอ 6 cm.
อาการปัจจุบัน (28/3/2567)
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ช่วยเหลือตนเองได้บางส่วนมีใบหน้าบวม เปลือกตาบวมทั้ง 2 ข้าง ตาข้างขวาบวมปิด ริมฝีปากบวม หายใจ On Portex tube No. 6.0 c O2 T-piece FiO2 40% flow 10 LPM On NG tube for feed BL 1:1 300*4 feed ใส่แพมเพิสสามารถขับถ่ายเองได้
T = 35.9 ํC BP = 140/68 P = 107 O2Sat = 99 %
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 3 ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเนื่องจากไม่สามารถกลืนอาหารได้
S = -
O = มี BMI น้อยกว่าเกณฑ์ ผอมเกินไป
P = 1. คำนวณปริมาณสารอาหารที่ผู้ป่วยต้องการและสารอาหารที่ผู้ป่วยได้รับ
ใส่สายยางให้อาหารทางจมูกและตรวจสอบตำแหน่งปลายสายก่อนที่
จะให้อาหารทุกครั้ง เพื่อป้องกันการเคลื่อนหลุดของสาย
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารทางสายยางให้ถูกต้อง ครบถ้วนตามแผนการรักษาคือ Blaendera (1:12) 300 ml x 4 feed + น้ำ 50 ml
จัดท่าศีรษะสูงก่อนให้อาหารและหลังให้อาหารประมาณครึ่งชั่วโมง
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 4 เสี่ยงต่อการเกิดติดเชื้อทางเดินหายใจเนื่องจากได้รับการเจาะคอ
s = -
O = มีเสมหะออกทางท่อเจาะคอ (Tracheostomy tube) ตลอดเวลา
P = 1. ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง หรือเมื่อจาเป็น โดยเฉพาะอุณหภูมิ ร่างกายและการหายใจ
สังเกตลักษณะ สี และจำนวนของ เสมหะ สังเกตอาการบวมแดงหรือติดเชื้อของผิวหนังรอบ ๆ
ดูแลความสะอาดของ Tracheostomy tube และผิวหนัง รอบ ๆ ท่อเจาะคออยู่เสมอ
ดูแลเรื่องการ suction
เข้มงวดในการใช้เทคนิคสะอาด ปราศจากเชื้อในการดูดเสมหะ ผู้ป่วยทุกครั้ง
ข้อวินิจฉัยที่ 2 Poor hygieng
S : -
O : ผู้ป่วยไม่สามารถกลืนน้ำลายได้ มีน้ำมูกไหลตลอดเวลา
P : 1. ดูแลทำความสะอาดในช่องปาก ใบหน้าและทั่วร่างกาย
ดูแลความสะอาดบริเวณเตียง เปลี่ยนผ้าปู ปลอกหมอน
ดูแลสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ เตียง จัดเตรียมกระดาษชำระหรือผ้าเช็ดหน้าไว้ใกล้ผู้ป่วย
การรักษา
ทฤษฎี
การรักษามะเร็งโดยทั่วไปมี 3 วิธี
การผ่าตัดเป็นการผ่าเอาก้อน ที่เป็นมะเร็งออกไปซึ่งจะทําผ่าตัดมากหรือน้อยขึ้นกับระยะของโรค
โดยระยะที่ 1, 2 มักจะผ่าตัดกล่องเสียงออกบางส่วนเท่านั้น
ระยะ 3,4 มักจะต้องผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมดซึ่งหลัง
ผ่าตัดผู้ป่วยจะต้องฝึกการพูดแบบไม่มีกล่องเสียงต่อไป
เคมีบำบัดเป็นการให้ยา
(สารเคมี)
รังสีรักษา
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยรักษาแบบประคับครองด้วยการผ่าตัด tracheostomy ผ่าเมื่อปี 2565 เพื่อบรรเทาการอุดกั้นในระบบทางเดินหายใจส่วนบน
ผู้ป่วยรักษาในรูปแบบของการรักษาแบบประคับประครองด้วยการฉายรังสี
การรักษาระยะไกล (Teletherepy)
โดยขณะฉายรังสีจะใส่หน้ากากเพื่อให้ลำรังสีเข้าตรงที่เดิมทุกวัน
ฉายทั้งหมด 10 ครั้ง
วันนี้ 29/3/67 นัดให้ไปฉายครั้งที่ 7 เวลา 14.00 น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 1 ผู้ป่วยปวดบริเวณคอเนื่องจากผลข้างเคียงจากการฉายแสง
S : ผู้ป่วยบอกว่า "ปวดที่คอ"
O : คะแนน Pain Score 7/10 ผิวหนังรอบคอมีรอยแดง
P : 1. ดูแลเรื่องการประเมินความปวด
ดูแลจัดท่าที่สุขสบายให้ผู้ป่วยและให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอ
ทำหัตถการต่าง ๆ ด้วยความรวดเร็วและนุ่มนวล
แนะนำผู้ป่วย ห้าม เช็ด ล้าง หรือลบรอยหมึกที่แพทย์ขีดไว้
หลีกเลี่ยงการแกะ เกา เพราะจะทำให้เกิดแผลได้ง่ายขึ้น หากมีอาการคันให้ใช้มือลูบเบาๆ และให้ใช้แป้งข้าวโพดทาและหากมีแผลควรปรึกษาแพทย์
ควรสวมเสื้อผ้าที่อ่อนนุ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณคอเสื้อ เพราะจะทำให้ระคายเคืองบริเวณที่ฉายแสง และจะเกิดเป็นแผลถลอกได้ง่าย
ดูแลใหยาเพื่อบรรเทาอาการปวดตามแผนการ
รักษา ยา Paracetamol Tap 500 mg. ครั้งละ 1 เม็ด ทุก 4-6 ชม เวลาปวดหรือมีไข้
ยา Kapanol cap 20 mg. 1 เม็ด ทุก 24 ชม
ยา SYR Morphine 10 mg.ครั้งละ 2 ซีซี เวลามีอาการทุก 2-4 ชม เวลามีอาการปวด
กลไกการเกิดโรค
รูปแบบการแพร่กระจายและลุกลามของมะเร็งกล่องเสียง
การแพร่กระจายโดยตรง
การลุกลามไปยังน้ำเหลือง
ต่อมาจะแพร่กระจายขึ้นไปตามหลอดเลือดดำในลำคอและบริเวณเนื้อเยื่อน้ำเหลืองของคอ
การแพร่กระจายทางหลอดเลือด มะเร็งสามารถแพร่กระจายไปตามการไหลเวียนของเลือดทั่วร่างกาย
อาการจะแตกต่างไปตามตำแหน่งและขนาดของเนื้องอก แต่ละระยะของโรค อาการที่พบบ่อยในระยะแรก ๆ สามารถเป็นได้ทั่วไป
คออักเสบที่ไม่หาย อาการเจ็บคอเป็น ๆ หาย ๆ หรือไอปนเลือด
ผู้ป่วยเคยมีอาการไอจนเจ็บคอแล้วจึงซื้อยาแถวบ้าน
รับประทานเอง ลักษณะการไอเป็นไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ
การหายใจติดขัด
ผู้ป่วยมีอาการหายใจติดขัด แน่นหน้าอก
1 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล
เสียงแหบ
ผู้ป่วยเริ่มมีอาการเสียงแหบก่อนที่จะไปรับการรักษา
เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลง
ผู้ป่วยเริ่มมีอาการเบื่ออาหาร ทานข้าวได้น้อยลงมีน้ำหนักลดลงภายใน 4 สัปดาห์ จาก 42.0 เหลือ 39.9 ค่า BMI = 15.59 อยู่ในเกณฑ์ผอม/น้ำหนักน้อย
การสูบบุหรี่ การเผาไหม้ของบุหรี่ทำให้เกิดสารก่อมะเร็ง นอกจากนี้ควันของบุหรี่ยังทำให้ขนกวัดของเยื่อบุกล่องเสียง หยุดการเคลื่อนไหว หรือเคลื่อนไหวช้าลง มีสารคัดหลั่ง หรือสารระคายเคืองค้างอยู่ ทำให้เยื่อบุของกล่องเสียงหนาตัวขึ้นและเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพเซลล์ กลายเป็นเซลล์มะเร็ง
การดื่มแอลกอฮอล์ สามารถไปกระตุ้นเยื่อบุของกล่องเสียง เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพเซลล์ ทำให้เกิด
การทำลายเยื่อบุผิวซ้ำ ๆ กลายเป็นเซลล์มะเร็ง
เพราะในแอลกฮอล์มีสารอะซีตัลดีไฮด์ หรือสารก่อให้เกิดมะเร็ง ซึ่งเป็นสารที่เกิดจากการย่อยสลายของสารเอทานอลในร่างกาย ส่งผลให้เกิดการทำลายดีเอ็นเอภายในเซลล์ทำให้เซลล์ในร่างกายอ่อนแอลง
สาเหตุ
การสูบบุหรี่
ผู้ป่วยสูบยาเส้น วันละ 7 มวน
เป็นเวลามากกว่า 40 ปี
การสูดดมสารระคายเคือง
ผู้ป่วยทำอาชีพ ชาวนาและรับจ้างทั่วไปที่เกี่ยวกับการทำเกษตรกรรม เช่น ตีนา ฉีดยาข้าว หว่านปุ๋ยต่าง ๆ ทำให้มีการสูดดมสารเคมีอยู่บ่อยครั้ง เป็นเวลามากกว่า 40 ปี
การดื่มสุรา
ผู้ป่วยดื่มเหล้าขาวทุกวัน
วันละประมาณ 330 ml.
เป็นเวลามากกว่า 40 ปี
การใช้เสียงผิดปกติทำให้กล่องเสียงอักเสบบ่อย ๆ
นางสาวศศิธร มั่นยา 65102301115 ปี 2