Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง COPD, นางสาวมณทิรา สีมูล 6501110800045 - Coggle…
หลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง
COPD
พยาธิสภาพ
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic Obstructive Pulmonary Disease :COPD) หมายถึง ภาวะที่มีความจำกัดของการไหลเวียนอากาศภายในปอดอย่างถาวรและมีความสัมพันธ์
กับการอักเสบเรื้อรังที่เกิดขึ้นภายในทางเดินหายใจและปอด
อาการและอาการแสดง
เหนื่อย ไอ มีเสมหะ
การวินิจฉัย
การประเมินสมรรถภาพปอด (Pulmonary function Test) ด้วย Spirometry ช่วยในการ
วินิจฉัยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและจัดระดับความรุนแรงของโรค
2.ซักประวัติ
ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังจะมีระดับ O2 Saturation
ที่ต่ำกว่าคนปกติ (SpO2 < 95%) โดยผู้ป่วยยกล่าวดังจะยังไม่มีอาการด้วยระดับของค่า SpO2 = 88-92%
การรักษา
รักษาด้วยยา
ยาขยายหลอดลม
Salbutamol
Terbutaline
Fenoterol
Procaterol
Theophylline
Aminophyllin
Inhaled Coricosteroids
มักใช้ในกรณีที่มีอาการมากและโรคกำเริบบ่อย
ยาละลายเสมหะ
Acetylcysteine
Ambroxol
การให้ออกซิเจน
การฟื้นฟูสภาพปอด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเดินหายใจ
การแลกเปลี่ยนก๊าซบกพร่องเนื่องจากการระบายอากาศลดลง
ขาดประสิทธิภาพในการทำทางเดินหายใจให้โล่งเนื่องจากไม่สามารถไอและขับเสมหะออกมาได้
การพยาบาล
ระยะอาการกำเริบซ้ำ
จัดท่านอนศีรษะสูง
ประเมินสภาพการหายใจ
ดูแลให้ได้รับยา bronchodilator drugs
ระยะอาการสงบ
หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นและสารระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ
การหยุดสูบบุหรี่
หลีกเลี่ยงการเข้าไปในสถานที่แออัด
ชนิดของอาหารที่มีผลต่อผู้ป่วย
อาหารประเภทคาร์โบไฮเดรท
กายภาพบำบัดทรวงอก
การฝึกการหายใจ
Pursed - lip breathing technique เป็นการหายใจเข้าทางจมูก👃🏼
[ นับ1 2 ] และหายใจออกทางปาก โดยห่อปากเล็กน้อย👄 [ นับ 1 2 3 4 ]
การออกกำลังกาย
การให้ออกซิเจนระยะยาว
สาเหตุและปัจจัยเสี่ย
การสูบบุหรี่ (Smoking) เป็นสาเหตุที่สำคัญของการเกิดโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังมากกว่า 90%
หลอดลมอักเสบเรื้อรัง(chronic bronchitis) และโรคถุงลมปอดโป่งพอง(emphysema)
การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เป็นมลพิษทางอากาศ (inhalational exposure to particle) มลภาวะอากาศเป็นพิษ
(Air Pollution)และโรคที่เกิดจากการทำงาน เช่น โรคฝุ่นฝ้าย (byssinosis)
กรรมพันธุ์ (Genetic condition) ขาด Alpha-1 Antitrypsin ทำให้ถุงลมขาดสารหล่อลื่นเป็นสาเหตุของ
ถุงลมโป่งพอง
ภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อ
ภาวะหัวใจวาย
เกิดถุงลมที่พองตัวผิดปกติ
Spontaneous pneumothorax
มีลมรั่วในช่องปอด
Cor - pulmonary โรคหัวใจข้างขวาล้มเหลว
ลักษผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
Pink puffer
(Type A or Emphysematous) จะมีอาการหอบเหนื่อยเนื่องจากถุงลมถูกทำลาย จนทำให้หายใจออกและแลกเปลี่ยนแก๊สได้ไม่ดี ผู้ป่วยมักผอม เนื่องจากต้องใช้พลังงานไปในการหายใจค่อนข้างมาก คือ โรคถุงลมปอดโป่งพอง (Emphysema)
Blue bloater
(Type B or bronchitis type) มักมีน้ำหนักปกติหรืออ้วน รวมทั้งอาจมีบวมน้ำ(edema) ตามลำตัว มักมาด้วยอาการไอมีเสมหะมากและหอบเหนื่อย เนื่องจากหลอดลมเกิดการอักเสบจนทำให้หลอดลมตีบแคบ
( Chronic bronchitis)
นางสาวมณทิรา สีมูล 6501110800045