Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลอดลมอักเสบ
Bronchitis, นางสาวมณทิรา สีมูล 6501110800045 - Coggle…
หลอดลมอักเสบ
Bronchitis
พยาธิสภาพ
การติดเชื้อที่เยื่อบุหลอดลม ทำให้เกิดการอักเสบ ซึ่งต่อมาอาจลุกลามไปยังส่วนต่างๆ ของทางเดินหายใจขนาดเล็ก ต่อมสร้างมูกมีขนาดโตและเพิ่มจำนวน
จึงมีการทำลายเซลล์ขนกวัด มีการแทรกซึมของเซลล์เม็ดเลือดขาว เช่น Polymorphonuclear leukocyte เข้าไปในหลอดลม ส่งผลให้เกิดเสมหะเป็นหนอง
อาการและอาการแสดง
เริ่มจากอาการคล้ายไข้หวัด น้ำมูกไหล ไอเล็กน้อย และเมื่อ2-3 วันผ่านไป เชื้อโรคจะลุกลามไปยังหลอดลม ทำให้มีอาการไอมากขึ้น ไอแห้ง ๆ [ ยังไม่เกิดการติดเชื้อ ] มีเสมหะเล็กน้อยหรือเสมหะเริ่มเปลี่ยนสีเป็นสีขาว [ เริ่มมีการติดเชื้อเกิดขึ้น ] อาการส่วนใหญ่ของหลอดลมอักเสบจะหายเป็นปกติดี ประมาณ 1-2 สัปดาห์หลังจากมีอาการ
ความหมาย
หลอดลมอักเสบ หมายถึง การอักเสบของหลอดลม ซึ่งเป็นท่อทางเดินหายใจขนาดใหญ่มักเกิดร่วมกับการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
ชนิดของหลอดลมอักเสบ
🦠 Acute bronchitis 🦠
90 % เกิดจากการติดเชื้อไวรัส
10 % เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
โดยทั่วไปมักมีอาการไอมีเสมหะและมีไข้ ซึ่งอาการต่างๆเหล่านี้มักหายเองภายใน 1- 2 สัปดาห์ แต่บางคนอาจไอต่อเนื่องประมาณ 4 - 8 สัปดาห์ หรือจนกว่าร่างกายจะฟื้นตัวได้เต็มที่ [ มักจะเป็นวัยสูงอายุ ]
🚬 Chronic bronchitis 🚬
อาการไอเรื้อรังร่วมกับมีเสมหะเหนียวข้น มีอาการเรื้อรังตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไปใน 1 ปี และเกิดต่อกันอย่างน้อย 2 ปีขึ้นไป สาเหตุหลักมักเกิดจากการสูบบุหรี่ ควันบุหรี่หรือมลภาวะในสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ซึ่งทำให้หลอดลมเกิดการระคายเคืองอย่างต่อเนื่อง
การรักษา
-
ให้ยาปฏิชีวนะนาน 7 - 10 วัน
ตัวอย่างยา amoxicillin, roxithromycin, erythromycin, clotrimazole
การตรวจวินิจฉัย
-
2.ใช้เครื่องฟังตรวจปอด มักได้ยินเสียง “ rhonchi ”ผู้ที่มีอาการหอบร่วมด้วยอาจได้ยินเสียง “ wheezing ”
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 การตรวจนับจำนวนเม็ดเลือด (complete blood count )
3.2 การตรวจหาเชื้อ Respiratory Syncytial virus
3.3 การตรวจภาพถ่ายรังสีทรวงอก
3.4 การตรวจเสมหะ
-
การพยาบาล
-
-
3.ดูแลทางเดินหายใจใจโล่ง คือ
3.1 ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำประมาณวันละ 2 - 3 ลิตร ( ระวังในผู้ป่วยโรคไตหรือผู้ป่วยที่ถูกจำกัดน้ำ ) เพื่อช่วยให้ร่างกายได้รับน้ำอย่างเพียงพอและทำให้เสมหะอ่อนตัวง่ายต่อการขับออก
3.2 เปลี่ยนท่าผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง ร่วมกับการทำ percussion และ vibration เพื่อให้เกิดแรงสั่นสะเทือนเสมหะหลุดออกมาได้ง่ายขึ้น
-
-
-