Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 วิวัฒนาการทางการพยาบาลจิตเวช, นางสาวมณทิรา สีมูล 6501110800045,…
บทที่ 1
วิวัฒนาการทางการพยาบาลจิตเวช
วิวัฒนาการจิตเวชศาสตร์ในต่างประเทศ
1.ยุคก่อนประวัติศาสตร์หรือยุคดึกดำบรรพ์
ผู้คนเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ผีสางนางไม้ เทวดา เมื่อมีผู้คนเจ็บป่วย
ทางจิตจึงถูกกล่าวหาว่าถูกวิญญาณ ภูตผี ปีศาจหรือถูกเทวดาลงโทษ
มักไปหาพระ หมอผีหรือผู้ที่มีวิชาอาคม เพื่อทำการรักษา
โดยใช้วิธี รดน้ำมนต์ ปัดเป่า เป็นต้น
2.ยุควัฒนธรรมกรีกและโรมัน
เป็นระยะที่กรีกมีความเจริญรุ่งเรือง ความเชื่อในเรื่อง
การเจ็บป่วยทางจิต มีการเปลี่ยนแปลงหันไปยึดหลักธรรมชาติ
Hippocrates แพทย์ชาวกรีกเป็นบิดาแห่งการแพทย์ เชื่อว่าความเจ็บป่วยทางกายและจิตเกิดจากธรรมชาติรักษาโดยการใช้ยาระบาย ชำระล้าง ใช้ไอน้ำ
การนวด การออกกำลังกาย เป็นต้น
Plato นักปราชญ์ชาวกรีก เชื่อว่าผู้ป่วยทางจิตไม่ควรอยู่ปะปนกับคนในเมือง ญาติจึงต้องรับผิดชอบโดยใช้วิธีการรักษา คือ ขับร้องเห่กล่อมหรือพิธีต่างๆ เพราะทำให้ผู้ป่วยจิตใจสงบ
3.ยุคกลางหรือยุคมืด
ระยะเริ่มแรกของยุคคริสเตียน กลับไปเชื่อเรื่องไสยศาสตร์เหมือนยุคดึกดำบรรพ์อีกครั้ง เกิดการรักษาที่ใช้ความรุนแรงมากกว่ายุคดึกดำบรรพ์ ได้แก่ เผาทั้งเป็น จับถ่วงน้ำ เป็นต้น
4.ยุคก่อนจิตเวชสมัยใหม่
ในศตวรรษที่ 17-18 เป็นหัวเลี้ยวหัวต่อของการแพทย์ปัจจุบัน เริ่มมีโรงพยาบาลจิตเวช แต่ยังคงใช้วิธีการรักษาโดยการกักขังไม่ให้ติดต่อกับใคร ผู้ป่วยส่วนมากเป็นที่รังเกียจและถูกทอดทิ้ง ดูถูก เหยียดหยาม
5.ยุคต้นของจิตเวชสมัยใหม่
Benjamin Rush บิดาแห่งจิตเวชของสหรัฐอเมริกา เขียนหนังสือเกี่ยวกับความผิดปกติทางจิตเป็นเล่มแรก เริ่มรับผู้ป่วยทางจิตไว้ในโรงพยาบาลและปฏิบัติต่อ
ผู้ป่วยอย่างมีมนุษยธรรม
ในฝรั่งเศส Philips Penel แพทย์สถานรักษาโรคที่ Bicetre Asylumg เป็นผู้ปลดโซ่ที่ผู้ป่วยถูกกักขังไว้
[เป็นสัญลักษณ์ของจิตเวชสมัยใหม่]
William Tuke พ่อค้าชาวอังกฤษเริ่มให้คุณค่ากับผู้ป่วยทางจิต โดยเป็นปากเสียงให้ผู้ป่วยและจัดหาทุนก่อตั้งสถานรักษา
ต่อมา Dorothea Lynda Dix ครูสตรี ได้ร้องเรียน
ต่อสภาให้ออกกฎหมายคุ้มครองผู้ป่วยทางจิต
6.จิตเวชสมัยใหม่
ปลายศตวรรษที่ 19 - 20 มีการพัฒนาแนวคิดทฤษฎีทางจิตสังคม
ในปี 1825 - 1895 Jean Charot จิตแพทย์ชาวฝรั่งเศษ ใช้วิธีการรักษาโดยการสะกดจิต
ในปี 1856 - 1939 Sigmund Frend แพทย์ชาวออสเตรีย ใช้วิธีการรักษาโดยการสะกดจิต คิดค้น
และพัฒนาจิตวิเคราะห์
ปลายศตวรรษที่ 20สหรัฐอเมริกาได้มีการร้องเรียนสิทธิ์ต่างๆ เช่น ผู้พิการให้มิสิทธิ์เท่าเทียมกัน
มีการออกพรบ.และให้ทุนการศึกษาโดยเน้นระบบประสาทวิทยา
วิวัฒนาการของการพยาบาลสุขภาพจิต
และจิตเวชในต่างประเทศ
เริ่มในสมัย Florence Nightingale ในปี 1930 มีการมองผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวม มีการสื่อสารในการบำบัด ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้
ในปี 1913 Eiffe Taylor บูรณาการมโนทัศน์การพยาบาลทั่วไปและการพยาบาลสุขภาพจิตเข้าด้วยกัน ไม่สามารถแยกออกจากกันได้
Hidegard Peplau ได้เผยแพร่แนวคิดการใช้สัมพันธภาพระหว่างบุคคล
วิวัฒนาการจิตเวชศาสตร์ในประเทศไทย
1.ยุคดั้งเดิม
ในปี พ.ศ. 2432 - 2457 สร้างโรงพยาบาลคนเสียจิตแห่งแรกที่ ปากคลองสาน หรือ โรงพยาบาลหลังคาแดง
4.ยุคแรกเริ่มงานสุขภาพในชุมชน
ในปี 2507 ดำเนินตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
~> เริ่มการรักษาแบบ Milieu therapy
~> บ้านกึ่งวิถี Half - way house
~> Day hospital
3.ยุคของงานสุขภาพจิต
ส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต โดยเปิดคลีนิคศูนย์สุขวิทยาจิต
ใช้วิธีการรักษาใหม่แบบตะวันตก โดยการทำจิตบำบัด พฤติกรรมบำบัด หรือบำบัดด้วยยากล่อมประสาท
2.ยุคโรงพยาบาลจิตเวชแผนใหม่
หลวงวิเชียรแพทยาคม เป็นผู้อำนวยการคนแรก
[ เปลี่ยนชื่อโรงพยาบาลเป็น โรงพยาบาลจิตธนบุรี ]
นายแพทย์ฝน แสงสีแก้ว บิดาแห่งจิตเวชศาสตร์ไทย
[ เปลี่ยนชื่อโรงพยาบาลเป็น โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา ]
เริ่มสร้างโรงพยาบาลตามภาคต่างๆ
5.ยุคการผสมผสานงานสุขภาพจิตเข้ากับระบบบริการสาธารณสุข
ในปี พ.ศ. 2515 -2524
6.ยุคของสาธารณสุขชุมชนมูลฐาน ในปี พ.ศ. 2525 -2534
7.ยุคของงานส่งเสริมป้องกัน
ในปี พ.ศ. 2535 จนถึงปัจจุบัน
นางสาวมณทิรา สีมูล 6501110800045