Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา โรคกระเพาะอาหาร และลำไส้เล็กอักเสบ (Acute Gastroenteritis) -…
กรณีศึกษา
โรคกระเพาะอาหาร และลำไส้เล็กอักเสบ
(Acute Gastroenteritis)
ความหมาย
โรคที่เกิดจากความผิดปกติระบบทางเดินอาหาร ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของโรคลำไส้ที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก
สาเหตุ
พันธุกรรม ประมาณร้อยละ 15-20 ของผู้ป่วยโรคนี้จะมีญาติน้องที่เป็นด้วย ทั้งนี้ขึ้นกับภาวะแวดล้อมและปัจจัยกระตุ้นอื่นๆด้วย
อาหาร เชื่อว่าเป็นปัจจัยกระตุ้นอยางหนึ่ง โดยเฉพาะนม เช่น การ
แพ้นมวัว อาหารรสจัด
3.ปัจจัยทางจิตวิทยา ความเครียดหรืออารมณ์ที่แปรปรวนทำให้ลำ
ไส้ทำงานมากกว่าปกติ
4.การอุดกั้นของลำไส้ใหญ่ในโรค Hirsch sprung disease ซึ่งมี
ความผิดปกติของระบบประสาทในลำไส้ใหญ่ตั้งแต่กำเนิด
ภูมิต้านทานของร่างกายผิดปกติ
การติดเชื้อซึ่งเป็นได้ทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส โปรโตซัว หรือสภาพ โดยส่วนใหญ่ เชื้อ Rota Virus จะเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดอุจจาระร่วงแบบเฉียบพลัน
ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
อาการสำคัญที่นำมา
ถ่ายเหลว 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
2 วัน PTA ถ่ายหลว 6-7 รอบ/วัน ไม่มีมูกเลือด ไม่มีอาการทาง URI
1 วัน PTA ถ่ายเหลว 7-8 รอบ/วัน มีมูกเลือดปน 4-5 รอบ กินแล้วถ่ายตลอด พามา รพต. ตรวจ stool
18/03/67 ถ่ายเหลว 2 ครั้ง มีเลือดสดปน ไม่มีไข้ จึง admit
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
Chronic lung disease, clinical GERD-solved, of tracheostomy เมื่อ พ.ย. 65
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
WBC 18.36 x10^3/uL (4.50-10.00)
PLT 429 x10^3/uL (150-400)
Eosinophil 0.3 % (1.0-6.0)
IPF 7.3 % (0.1-4.9)
Neutrophil 11.438 x10^3/uL (2-7)
Lymphocyte 5.435 x10^3/uL (0.8-4)
Electrolyte
Carbon dioxide 17 mmol/l (22-29)
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
smecta 1x2 TF pc ยาต้านอาการท้องเสีย
caftriazone 850 mg v OD ยาต้านแบคทีเรีย ป้องกันการติดเชื้อ
Paracetamol (250mg/5ml) 3.5 ml TF pin for fever ทุก 4-6 hr. ยารักษาอาการไข้
Avamys 1x2 ยายารักษาภาวะเยื่อบุจมูกอักเสบ
Seretide (25/250) 1x2. via spacers ยารักษาอาการหอบหืด
Montek (10) 1/2 x hs ยารักษาโรคหืด
อาการและอาการแสดง
ถ่ายอุจจาระผิดปกติโดยถ่ายเป็นน้ำ น้ำปนเนื้อมูก หรือน้ำมูกและ
อาจมีอาการอื่นร่วม เช่น ไข้คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องอืด น้ำ
หนักลด ตัวบวมจากการสูญเสียโปรตีนทางลำไส้ โลหิตจางจาก
การสูญเสียเลือดทางลำไส้
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
Acute watery diarhea ได้แก่การถ่ายอุจจาระเป็นน้ำ
ไม่มีเลือดปน อาจมีการอาเจียนและไข้ร่วมด้วย
Dysentery ได้แก่การถ่ายอุจจาระที่เหลวมีเลือดปน เห็นได้ด้วย
ตาเปล่า ปัญหาสำคัญคือ อาการเบื่ออาหาร น้ำหนักลด และ
เยื่อบุลำไส้ถูกทำลายโดยเชื้อรุกล้ำผ่านทางผนังลำไส้(invasive
bacteria) สาเหตุในกลุ่มที่เป็นเฉียบพลันมักมาจาก
เชื้อShigella
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยหาสาเหตุโดยการตรวจอุจจาระ (Stool exam) เชื้อแบคที่เรียจากอุจจาระ (Stool Culture)
การวินิจฉัยความรุนแรงจากการขาดสารน้ำ
การวินิจฉัยความสมดุลของอิเล็กโตรไลท์และกรด-ด่าง
การรักษา
ส่วนใหญ่รักษาตามอาการ
ภาวะพร่องสารน้ำและอิเล็กโทรไลท์
ประเมินภาวะพร่องสารน้ำของผู้ป่วย ในกรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะพร่องสารน้ำรุนแรง ต้องให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำทันที ประเมินภาวะพร่องสารน้ำทุก 1-2 hr. ดื่มน้ำเกลือแร่ร่วมด้วย และรับประทานอาหารอ่อนที่ย่อยง่าย
การให้ยาปฏิชีวะและยาช่วยลดการถ่ายอุจจาระ
ATB ใช้ในกรณีที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โดยให้ยาไปก่อนโดยไม่รอผลเพาะเชื้อแบคทีเรียจากอุจจาระ
ภาวะอื่น
ไข้ พบในผู้ป่วยที่มีภาวะพร่องสารน้ำมาก
เช็ดตัวลดไข้
ยาลดไข้
ปกติไม่มีมีความจำเป็นต้องใช้ ATB ยกเว้นเด็กที่มีภูมิต้านทานต่ำ ทารกแรกเกิด หรือเด็กที่มีภาวะ Septicemia
น้ำตาลในเลือดต่ำ พบได้ในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารไม่ได้ อาเจียนมาก ผู้ป่วยจะมีอาหารเหงื่อออก ซีด ตาลาย
การวางแผนการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1 เสี่ยงต่อการขาดสารน้ำ สารอาหารเนื่องจากมีการถ่ายเหลวและอาเจียน
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของการขาดสารน้ำ สารอาหาร ได้แก่ ผิวหนังแห้ง ปากแห้ง ง่วงซึม ปัสสาวะน้อยลง
กระตุ้นผู้ป่วยให้มีการดื่มน้ำในปริมาณที่เหมาะสม โดยมีการ
คำนวณน้ำที่เหมาะสมของแต่ละบุคคลต่อวัน เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วย
ดื่มน้ำอย่างเหมาะสมและลดการเกิดภาวะ Dehydration
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่ว โมงเพื่อประเมินความผิดปกติของสัญญาณชีพ หากผิดปกติให้รายงานแพทย์ทันทีร่วมกับ
การบันทึกสารน้ำเข้าออก
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำที่ถูกต้องและเหมาะสม ได้แก่
5% D/N/2 1,000 ml IV rate 55 cc/hr.
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 2 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรลัยต์ เนื่องจากมีการสูญเสียน้ำออกนอกร่างกาย
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะ Electrolyte Imbalance หรือภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย ได้แก่ เป็นเหน็บหรือชาตามร่างกาย หัวใจเต้นผิดจังหวะหรือเต้นเร็วผิดปกติ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำที่ถูกต้องและเหมาะสม ได้แก่ 5% D/N/2 1,000 ml IV rate 55 cc/hr.
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงเพื่อประเมินความผิดปกติของสัญญาณชีพ หากผิดปกติให้รายงานแพทย์ทันทีร่วมกับการบันทึกสารน้ำเข้าออก
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ Sodium, Potassium, ChlorideและCO2 รวมถึงค่าอื่น ๆ รวมด้วย