Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abdominal Injury, Spleen injury, 5EB60524-69B0-43B0-95E2-738C9DA712DB -…
Abdominal Injury
อาการและอาการแสดง
-
-
-
-
-
-
-
-
-
มีรอยฟกช้ำรอบๆสะดือ (Cullen’s sign)
มีอาการ shock จากการเสียเลือด
รอยฟกช้ำที่ชายโครง หรือด้านหลังระดับชายโครง (Grey Turner’s sign)
-
Pancrease
กายวิภาคศาสตร์
ตับอ่อนมีลักษณะอ่อนนุ่ม ยาวประมาณ 6-9 นิ้ว หนาประมาณ 1 นิ้ว อยู่ในตำแหน่งของ epigastric และ Hypochondriac Region ด้านซ้ายของหน้าท้อง อยู่ด้านหลังของเยื่อบุช่องท้อง โดยอยู่หลังโค้งใหญ่ของกระเพาะอาหาร มีท่อน้ำดีซึ่งรับน้ำดีมาจากตับและขับน้ำดีสูงลำไส้เล็กเล็กส่วนต้น
สรีรวิทยา
1.Exocrine function
มีการผลิตน้ำย่อย วันละประมาณ 5-800 มล.ลักษณะไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มีฤทธฺ์เป็นด่างผลิตผลิตจาก acinar cell และ duct cell ได้แก่ amylase , protease ,lipases enzyme ย่อยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
2.Endocrine function
มีการทำงานจาก lslet cell ได้แก่ การทำงานของ Insulin , glucagon และ somatostatin
-
-
การแบ่งระดับความรุนแรง
-
ระดับที่ 3 มีการฉีกขาดออกเป็นท่อนๆของตับอ่อนส่วนปูลาย(distal transaction) หรือพบการบาดเจ็บเนื้อตับอ่อนที่กระทบท่อตับอ่อน
ระดับที่ 2 มีรอยช้ำ (contusion) และรอยฉีกขาด (lacera-tion) ของตับอ่อนมากโดยไม่พบการบาดเจ็บของท่อตับอ่อน
ระดับที่ 4 มีการฉีกขาดออกเป็นท่อนๆของตับอ่อนส่วนต้น(proximal transaction) หรือพบการบาดเจ็บเนื้อตับอ่อนที่กระทบต่อ ampulla
ระดับที่ 5 พบการฉีกข
ระดับที่ 1 มีรอยช้ำ (contusion)และรอยฉีกขาด(lacera-tion) ของตับอ่อนเพียงเล็กน้อยโดยไม่พบการบาดเจ็บของท่อตับอ่อน
-
Stomach
กระเพาะอาหารเป็นอวัยวะที่สมารถขยายตัวง่ายถ้าไม่มีอาหารอยู่ภายในจะสามารถทนแรงกระแทกได้ดี การบาดเจ็บที่กระเพาะอาหารจึงเกิดขึ้นได้น้อย การบาดเจ็บอาจเกิดร่วมกับการบาดเจ็บของหลอดอาหารและบาดเจ็บรายระบบ ส่วนใหญ่มาจากวัตถุที่มีอำนาจทะลุทะลวง เพราะกระเพาะอาหารมีขนาดใหญ่และอยู่บนสุดของช่องท้อง
ปวดท้องด้านซ้ายบน ตึงท้องดูดสารน้ำจากกระเพาะอาหารได้เป็นเลือด ภาพถ่ายรังสีที่หน้าท้อง พบลมหรือX-ray พบกระเพาะอาหารทะลุ
-
กลไกการบาดเจ็บ
•Blunt mechanism : บาดเจ็บจากแรงกระแทก
• Penetrating mechanism : บาดเจ็บจากวัตถุที่มีอำนาจทะลุทะลวง
-
-
-
Bowel injuries
ลำไส้เป็นอวัยวะที่กลวง มีเลือดมาเลี้ยงมาก มีความยาวประมาณ 32 ฟุต เนื่องจากเป็นอวัยวะที่อยู่ด้านหน้าและไม่มีอวัยวะอืนเป็นโล่กำบัง จึงมีความเสี่ยงสูงต่อการบาดเจ็บทั้งจากแรงกระแทกและจากการทะลุทะลวง ซึ่งจะทำให้ลำไส้ฌผล่ออกมานอกช่องท้อง (bowel evisceration)
อาการ : ปวดท้อง ปวดท้องเกร็ง ปวดมากขึ้นเรื่อยๆ หากลำไส้ทะลุจะมีการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรีย ทำให้เกิดการอักเสบ peritonitis bowel sound ลดลง
หากลำไส้ทะลุต้องเข้ารับการผ่าตัด การดูแลเบื้องต้น ต้องดูแลไม่ให้ลำไส้แห้ง โดยการคลุมด้วย ก๊อชชุบ 0.9% NSS ให้สารน้ำให้เพียงพอ เตรียมผู้ป่วยเพื่อเข้ารับการผ่าตัด
Stomach injuries
กระเพาะอาหารเป็นอวัยวะที่สามารถขยายตัวง่าย ถ้าไม่มีอาหารอยู่ภายในจะสามารถทนแรงกระแทกได้ดีการบาดเจ็บที่กระเพาะอาหารจึงเกิดขึ้นได้น้อย การบาดเจ็บอาจเกิดร่วมกับการบาดเจ็บของหลอดอาหารและบาดเจ็บหลายระบบ ส่วนใหญ่มาจากวัตถุที่มีอำนาจทะลุทะลวง เพราะกระเพาะอาหารมีขนาดใหญ่และอยู่ด้านบนสุดของช่องท้อง
ปวดท้องด้านซ้ายบน ตึงท้อง ดูดสารน้ำจากกระเพาะอาหารได้เป็นเลือด ภาพถ่ายรังสีพบลม หรือ X-ray พบกระเพาอาหารทะลุ
-
-
Vascular injuries
หลอดเลือดในช่องท้องส่วนใหญ่เป็นหลอดใหญ่ทั้งหลอดเลือดดำและหลอดเลือดแดง สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากวัตถุที่มีอำอาจทะลุทะลวง
-
-
Spleen injury
การตรวจร่างกาย
การดู
ดูความผิดปกติของผิวหนัง เนื้อเยื่อบริเวณหน้าท้อง เอว หลัง เช่น การบวมช้ำ เลือดออก ถลอก กระดูกซี่โครงหักใกล้ม้าม ท้องโต ตึง
-
-
-
-
-
การรักษา
การผ่าตัด จะผ่าในรายที่มีการบาดเจ็บระดับ 3 ขึ้นไป vital sign ไม่ปกติมีบาดเจ็บที่อื่นร่วมด้วย หรือมีประวัติการได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด
รักษาแบบไม่ผ่าตัดเป็นทางเลือกแรกในการรักษาการบาดเจ็บที่ม้ามจากแรงกระแทก เพื่อหลีกเลี่ยงอาการแทรกซ้อนภายหลังผ่าตัดม้าม ทำได้ในผู้ป่วยที่ v/s stable ให้นอนพักผ่อนบนเตียง ประเมินและตรวจร่างกายซ้ำ ๆ เป็นระยะ ๆ
-
ปวดท้องด้านบนซ้ายร้าวไปไหล่ Kehr’ sign เนื่องจากมีการระคายเคืองต่อเส้นประสาทที่เลี้ยงกระบังลม tenderness กล้ามเนื้อหน้าท้องเกร็งเมื่อถูกกด ท้องอาจโป่งจาก bleeding หาก active bleed จะทำให้ shock
-
-