Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Skeleton fracture
…
Skeleton fracture
(เป็นภาวะที่กระดูกได้รับแรงกระแทกมากเกินไปส่งผลให้กระดูกไม่สามารถรองรับน้ำหนักได้และเกิดการหักขึ้น)
-
อาการและอาการแสดง
Tenderness กดเจ็บตรงตำแหน่งกระดูกหัก
Hematoma บวมและช้ำเลือด
Deformity ลักษณะผิดรูป โก่ง งอบิด
Abnormal movement การเคลื่อนไหวไม่ได
Crepitus มีเสียงกระดูกเสียดสีกัน
มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อบริเวณรอบๆ
-
-
การพยาบาล
1.ความเจ็บปวด
เมื่อเกิดกระดูกหักมีผลทำให้ตัวกระดูกและเนื้อเยื่อที่อยู่บริเวณโดยรอบได้รับอันตรายบริเวณที่มีกระดูกหักจะปล่อยสารเคมีต่างๆ เช่น prostaglandin E2 ออกมากระตุ้นปลายประสาทรับความรู้สึก (nerve ending) ทำให้เกิดอาการปวด
- ประเมินอาการเจ็บปวดโดยการสอบถาม รับฟังคำบอกเล่า สังเกตสีหน้า ประเมิน pain scoreและตรวจสอบปริมาณและผลของการได้รับยาแก้ปวด
- ประเมิน neurovascular status คือ7Ps และblanching test
- ให้นอนพัก ลดการเคลื่อนไหวอวัยวะส่วนนั้น
- ยกอวัยวะข้างนั้นให้สูง เพื่อส่งเสริมการไหลกลับของเลือดดำ ไม่ให้เลือดดำคั่งส่วนปลาย จะช่วยให้ลดบวม ลดปวดได้
- พูดคุยเบี่ยงเบนความสนใจ ใช้เทคนิคการผ่อนคลาย เช่น การทำสมาธิ การหายใจเข้าออกลึกๆ ยาวๆ (deep breathing) เป็นต้น
6.ดูแลการให้ได้รับยาแก้ปวด ยาคลายกล้ามเนื้อ เช่น ยากลุ่ม NSAIDs และสังเกตอาการแทรกซ้อนของการได้รับยา คือ การระคายเคืองกระเพาะอาหาร เป็นต้น
- ดูแลทางด้านจิตใจ เพื่อช่วยลดความกลัว ความวิตกกังวล
- กรณีใส่อุปกรณ์ยึดตรึงกระดูกไว้ เช่น เครื่องดึงกระดูก (traction) ดูแลให้อุปกรณ์ที่ใส่อยู่ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีใส่เฝือก ใส่ slab ดูขนาดให้พอดี ไม่คับแน่นเกินไป ถ้าพัน elastic bandage ดูแลให้มีการพันที่แน่นพอดี
9.กรณีมีท่อระบาย ดูแลให้มีการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
การอักเสบติดเชื้อ
1.ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงบริเวณที่มีการติดเชื้อและบริเวณแผล
2.ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะอุณหภูมิ
3.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาและสังเกตอาการข้างเคียงของการได้รับยา
4.ถ้ามีบาดแผล ดูแลให้ทำแผลทุกวัน วันละ 2 ครั้ง โดยทำแผลแบบเปียก ดูแลให้มีการระบายของหนองหรือสารคัดหลั่งจากแผล
5.ป้องกันการแพร่กระจายของโรค โดยใช้หลักปราศจากเชื้อในการทำแผล
6.ดูแลการได้รับประทานที่มีประโยชน์ เช่น เนื้อสัตว์ นม ไข่ ผัก
7.ระมัดระวังการกระทบกระแทกบริเวณแผล
-
Secondary survey
เมื่อเสร็จสิ้นการประเมิน primary survey เเล้วผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะที่เป็น life threatening condition เเละมีสัญาณชีพที่เป็นปกติเเล้วจึงทำการประเมิน secondary survey ประกอบด้วยการซักประวัติ ตามหลัก AMPLE ดังนี้
-