Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การเปลี่ยนแปลงทางสังคม - Coggle Diagram
บทที่ 8 การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ความหมาย
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคม ในลักษณะหนึ่งไปอีกลักษณะหนึ่งไม่ว่าจะก้าวหน้าหรือถดถอยก็ตาม
ความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในด้านต่างๆ ที่มนุษย์ประดิษฐ์ และสร้างขึ้น และทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านค่านิยม บรรทัดฐาน และระบบสัญลักษณ์ต่างๆ ในสังคม
ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
การเปลี่ยนแปลงทางด้านประชากร
การอยู่โดดเดี่ยวและการติดต่อกัน
โครงสร้างของสังคม และวัฒนธรรม
ทัศนคติและค่านิยม
6.การเล็งเห็นถึงความจำเป็น
7.พื้นฐานทางวัฒนธรรม
กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
1.การค้นพบ (Discovery) การพบข้อเท็จจริง ที่ไม่เคยพบหรือทราบมาก่อน
2.การประดิษฐ์ (Invention) เป็นการนำความรู้และเทคโนโลยีมาประดิษฐ์สิ่งต่างๆ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
การประดิษฐ์ทางวัตถุุ
การประดิษฐ์ที่ไม่ใช่วัตถุ
3.การแพร่กระจาย (Diffusion) การแพร่กระจายทางวัฒนธรรมจากสังคมหนึ่งไปสู่อีกสังคมหนึ่ง
ระดับของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
Kornblum
การเปลี่ยนแปลงในระดับตัวบุคคลหรือระดับจุลภาค
การเปลี่ยนแปลงในระดับสถาบันหรือระดับมหภาค
ทฤษฏี
ทฤษฏีวิวัฒนาการ การเปลี่ยนแปลงจะเป็นไปอย่างช้าๆ
ทฤษฎีความขัดแย้ง ความไม่สอดคล้องกัน ต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรง เกิดจากคนที่มีการแข่งขันกัน
ทฤษฏีความสมดุล
ทฤษฏีความล้าทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมที่ไม่ยอม เปลี่ยนแปลง
ทฤษฏีมนุษย์นิเวศวิทยา สภาพสมดุลของสังคมอยู่ที่การปรับตัว ของคนในสังคม
ทฤษฏีโครงสร้างและหน้าที่ การเปลี่ยนแปลงจะเริ่มต้น จากที่ใดก็ได้ แต่เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขึ้น การเปลี่ยนแปลง นั้นจะกระทบไปทุกส่วน
ทฤษฏีแห่งการขึ้นและลงของสังคม เป็นกระบวนการของความ เจริญและความเสื่อมของสังคม
ทฤษฏีความทันสมัย สังคมที่กำลังพัฒนาสู่ความทันสมัยก้าวหน้า
ทฤษฎีการพึ่งพา ประเทศที่สังคมยังไม่พัฒนาหรือยังไม่พัฒนาจะอาศัยประเทศที่พัฒนาแล้วเป็นศูนย์กลาง
การต่อต้านและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับ
1.ทัศนคติและค่านิยมเฉพาะ หากชอบก็จะยอมรับ หากไม่ชอบก็จะต่อต้าน
2.การสาธิตให้เห็นถึงประโยชน์ของสิ่งใหม่ การยอมรับสิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นจะง่ายหรือยากขึ้นอยู่กับการแสดงหรือการสาธิตให้เห็น
3.ความสอดคล้องกับวัฒนธรรมเดิม สิ่งใดที่ยังคงสอดคล้องกับวัฒนธรรมเดิมจะได้รับการยอมรับง่ายกว่า
สิ่งใหม่บางอย่างเข้ามาแทนที่ไม่ใช้เป็นการผสมผสานกับวัฒนธรรมเดิม ที่มีอยู่
สิ่งใหม่อาจก่อให้เกิดรูปแบบใหม่
สิ่งใหม่ขัดแย้งกับวัฒนธรรมเดิม
4.ค่าในการเปลี่ยนแปลง ค่าที่เป็นทั้งตัวเงิน และด้านจิตใจหรือความรู้สึกของคนที่เปลี่ยนแปลงไป
ความยากลำบากทางเทคนิคในการเปลี่ยนแปลง
กลุ่มที่รักษาผลประโยชน์อย่างแน่นแฟ้นกับการ เปลี่ยนแปลง
5.บทบาทของตัวแทนในการเปลี่ยนแปลง ตัวแทนในการเปลี่ยนแปลงมักเป็นผู้ที่มีอำนาจ จึงทำให้ก่อการเปลี่ยนแปลงได้ง่าย
ความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ความพร้อมในด้านบุคคล
ความพร้อมในด้านโครงสร้างของสังคม
ความพร้อมในด้านผู้นำ
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในสมัยปัจจุบัน
รวดเร็วและสม่ำเสมอ
เป็นลูกโซ่
ปัจจุบันจะมีการวางแผนมากกว่าในอดีต
เกิดขึ้นได้ทุกสถานที่
ทิศทางของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ความก้าวหน้า การเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่พึงปรารถนา
วิวัฒนาการ กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ดำเนินไปทีละขั้นตอน
การพัฒนาสังคม การเปลี่ยนแปลงที่มีทิศทาง เป้าหมายตามความต้องการของสังคมโดยมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า
การทำให้ทันสมัย การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เจริญรุ่งเรืองตามสมัย
การปฏิวัติสังคม การเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของระเบียบสังคมเดิม
แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมที่สำคัญ
การทำให้เป็นสังคมอุตสาหกรรม
การทำให้เป็นเมือง
การทำให้เป็นประชาธิปไตย
การทำให้เป็นองค์การสมัยใหม่
การทำให้เป็นกระบวนการสร้างคนชายขอบ
การกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม