Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การจัดช่วงชั้นทางสังคม - Coggle Diagram
บทที่ 7 การจัดช่วงชั้นทางสังคม
ความหมาย
การแบ่งคนในสังคมออกเป็นช่วงชั้นสูงต่ำต่างกันไป และเป็นที่รู้ สังเกตได้ อาจเรียกเป็นชนชั้น วรรณะ ฐานันดร
เกณฑ์
ความมั่งคั่ง
ลักษณะของงานที่ทำหรืออาชีพ
ระดับการศึกษา
ชาติกำเนิด
ศาสนา
ระบบการจัดช่วงชั้นทางสังคม
ระบบวรรณะ
เป็นระบบที่เกิดขึ้นในสังคมปิด ไม่สามารถเลื่อนชั้นได้ ต้องดำรงอยู่ในวรรณะนั้นไปจนตาย (ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู) มี 4 วรรณะพราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ และศูทร
ระบบฐานันดรศักดิ์
จะไม่เป็นระบบปิดเสียทีเดียว กล่าวคือสามารถเลื่อนชนชั้นได้ ระบบนี้เกิดขึ้นในฝั่งยุโรปมีการเรียงลำดับจากสูงไปต่ำ โดยจะแบ่งเป็นกษัตริย์และเชื้อพระวงศ์ ขุนนาง พ่อค้า ชาวนา ทาสติดที่ดิน
ระบบชนชั้น
เกิดในสังคมเปิด บุคคลสามารถเลื่อนชั้นทางสังคมได้ตามความรู้ความสามารถของตนเอง
แนวคิดหรือทฤษฏี
แมก เวเบอร์ ใช้ทฤษฏีเรื่องชนชั้น สถานภาพ และหมู่คณะ
คาร์ล มาร์ก อธิบายเรื่องชนชั้นโดยใช้ทฤษฏีตัวกำหนดทางเศรษฐกิจ
วอร์เนอร์ ศึกษาชนชั้นโดยใช้ทฤษฏีสถานภาพที่มีชื่อเสียง
พาร์สันส์ พูดถึงชั้นโดยใช้ทฤษฎีหน้าที่
การเคลื่อนที่ทางสังคม
การเปลี่ยนฐานะหรือตำแหน่งงานในทางสูงขึ้น หรือต่ำลงของบุคคลในโครงสร้างสังคม ตามการเปลี่ยนอาชีพ รายได้ ระดับการศึกษา หรือถิ่นที่อยู่
ประเภท
การเคลื่อนที่ทางสังคมในแนวนอน
การเคลื่อนที่ทางสังคมในแนวตั้งหรือแนวดิ่ง
ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดช่วงชั้นทางสังคม
ความสำนึกในเรื่องการแบ่งชั้น
ความแตกต่างทางพฤติกรรมและความรู้สึกนึกคิดในด้านต่างๆในระหว่างชั้น
ชั้นทางสังคมและครอบครัว
ชั้นทางสังคมและการเมือง