Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็ก, 2B นายภูวดล อินทรกุลเลขที่ 30 - Coggle Diagram
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็ก
แนวคิดการดูแลเด็กที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
ยอมรับแนวคิดที่ว่า ครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก
สร้างความร่วมมือกันระหว่างพ่อแม่กับทีมสุขภาพ
แลกเปลี่ยนข้อมูลทุกอย่างกับพ่อแม่อย่างต่อเนื่องและไม่ลำเอียงด้วยท่าทีที่เหมาะสมในลักษณะช่วยเหลือ
สนับสนุขและช่วยเหลือครอบครัวทั้งปัญหาทางด้านอารมณ์
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็ง และมีวิธีการเผชิญปัญหาที่แตกต่างกั้น
เคารพยอมรับในความหลากหลายของ เชื้อชาติ วัฒนธรรม และสังคม เศรษฐกิจ
สนับสนุนให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
จัดบริการให้มีความยืดหยุ่น เข้าถึงได้และตอบสนองความต้องการของครอบครัว
การช่วยให้ครอบครัวมีความสามารถ
ประเมินความรู้ และความสามารถของครอบครัวใน การดูแลเด็ก
เปิดโอกาสให้และ/หรือหาช่องทางให้ทุกคนใน
ครอบครัวได้แสดงความสามารถ
สอนความรู้และทักษะที่จำเป็นในการดูแลเด็ก
การเสริมพลังอำนาจ
รักษาไว้ซึ่งความรู้สึกของครอบครัวที่สามารถควบคุม การดำเนินชีวิตของครอบครัวได้
ช่วยเหลือให้ครอบครัวมีความรู้สึกว่าสามารถควบคุม การดำเนินชีวิตได้
ความวิตกกังวลเนื่องจากการแยกจาก
ระยะประท้วง (Protest)
ระยะสิ้นหวัง (Despair)
ระยะปฏิเสธ (Denial)
การจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ข้อควรระวัง
ยาปฏิชีวนะ นิยมทำเป็นรูปผงแห้ง ก่อนผสมน้ำควรเคาะ ขวดยาให้ผงยากระจายตัวก่อน จึงผสมน้ำสุกต้มที่เย็นแล้ว
ยาลดไข้ ให้เด็กกินยาทุก 4-6 ชั่วโมงจนไข้ลด แต่ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ภายใน 2 วัน หรือมีไข้สูงมาก ควรไป พบแพทย์ ห้ามเปลี่ยนไปใช้ยาแอสไพริน
ยาแก้ไอ ไม่ควรนำยาแก้ไอของผู้ใหญ่มาให้เด็กกิน เพราะยาบางชนิดอาจจะผสมแอลกอฮอล์ หรือยาบางตัว อาจมีฤทธิ์กดศูนย์กลางการหายใจ
ยาแก้ท้องเสีย ไม่ควรให้ยาที่มีความแรงมากในเด็กเล็ก เพราะอาจไปกดการหายใจได้
ข้อห้ามใช้
แอสไพริน (Aspirin) ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ขวบ เพราะอาจทำให้มีเลือดออกได้
คลอร์เฟนิรามีน (Chlorpheniramine) ไม่ควรใช้ใน ทารกอายุต่ำกว่า 2 เดือน เพราะอาจทำให้ซึม นอนไม่หลับ หรือชักได้
คลอแรมเฟนิคอล (Chloramphenicol) ห้ามใช้ในทารก อายุต่ำกว่า 4 เดือน เพราะอาจทำให้เด็กตัวเขียว เนื้อตัว อ่อนปวกเปียก หรือหมดสติได้
โลเปอราไมด์ (Loperamide) ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ำ กว่า 2 ขวบ เพราะอาจกดศูนย์การหายใจ
ซัลฟานาไมด์ (Sulfanamide) ห้ามใช้ในเด็กทารกอายุ ต่ำกว่า 2 เดือน เพราะอาจทำให้เกิด ดีซ่านและสมองพิการ
เดกซ์โทรเมทอร์แฟน (Dextromethorphan) ห้ามใช้ใน เด็กอายุต่ำกว่า 2 ขวบ เพราะยาอาจกดศูนย์กลางการ หายใจ
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับความตาย
วัยทารก (แรกเกิด ถึง 1 ปี) ความตายในวัยนี้จึงเป็น เพียงการสูญเสียผู้ดูแลเท่านั้น
วัยหัดเดิน (1 ถึง 3 ปี) ความตายในวัยนี้หมายถึงการ แยกจากสิ่งที่รักและผูกพัน ไม่มีความกังวลเรื่องการ ตาย
วัยก่อนเรียน (3 – 6 ปี) เด็กคิดว่าตายแล้วสามารถ
กลับคืนมาได้เป็นการแยกจากชั่วคราว และจะกลับฟื้ คืนมาใหม่ได้
วัยเรียน (6 – 11 ปี) เด็กวัยนี้เข้าใจว่าตายแล้วจะ
กลับคืนมาอีกไม่ได้ เด็กสามารถจินตนาการเรื่องความ ตาย และเข้าใจได้ว่าตัวเองก็อาจจะตายในวันหนึ่ง
วัยรุ่น เข้าใจความตายเหมือนผู้ใหญ่ ตอบสนองความ ตายเช่นเดียวกับผู้ใหญ่
การดูแลในระยะสุดท้าย
การรักษาแบบประคับประคอง (Palliative care treatment) ดูแลในมิติองค์รวมโดยตอบสนองความต้องการ ทางกาย จิตสังคม และจิตวิญญาณ เน้นความสุขสบาย (comfort care) และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเด็ก
2B นายภูวดล อินทรกุลเลขที่ 30