Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลโรคติดเชื้อในเด็ก, 2B นายภูวดล อินทรกุล เลขที่ 30 - Coggle Diagram
การพยาบาลโรคติดเชื้อในเด็ก
หัด
ระยะติดต่อ
1-2 วันก่อนเกิดอาการ หรือ 4 วันก่อนผื่นขึ้นจนกระทั่ง 4 วันหลังผื่นขึ้น
อาการสำคัญ
ไอ ตาแดง น้ำมูกไหล
ก่อนหน้าออกผื่น 1-2 วัน เห็นจุดขาวเล็กๆขอบสีแดงที่กระพุ้งแก้ม เรียกว่า Koplik spots
การวินิจฉัย
ลักษณะการเกิดผื่น
(Maculopapular rash)
การมี Koplik spots
ผลการตรวจ CBC
พบ White blood cell ต่ า
การพยาบาล
เช็ดตัวและเฝ้าระวังอาการชักจากไข้สูง
ให้ยาลดไข้เพื่อบรรเทาอาการ
กรณีเด็กที่มีอาการและอาการแสดงของการขาด vitamin A ควรให้ซ้ำอีก 1 ครั้ง เว้น 2-4
สัปดาห์ ทารกและเด็กเล็กให้เจาะแล้วบีบยาใส่ปาก
แยกผู้ป่วย 4 วันหลังผื่นขึ้น ตามหลัก Airborne precautions
ประเมินอาการระคายเคืองตา หากพบตาแดงหรือมีขี้ตามากขึ้น
น้ําตาไหล เปลือกตาบวมมากขึ้น ให้รีบรายงานแพทย์
ให้วิตามิน A วันละ 1 ครั้งนาน 2 วัน เพื่อป้องกันตาบอดจากการขาดวิตามินเอ พร้อมทั้งติดตาม
ผลข้างเคียง ได้แก่ ตับอักเสบรุนแรง ปวดศีรษะ และมีอาเจียน
อยู่ในที่แห้ง ไม่มีแสงจ้ามากเกินไป อุณหภูมิพอเหมาะ เพื่อลดอาการระคายเคืองตา อาการไอบ่อย และ
อาการเจ็บคอ
การป้องกัน
เด็ก
ให้วัคซีน MMR 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เมื่ออายุ 9 เดือน และครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 1 ปี 6 เดือน
สัมผัสโรค < 72 ชม
อาจพิจารณาให้วัคซีนหัดMMR ทันที สําหรับผู้ที่ไม่เคยได้รับวัคซีน/หรือได้มาเพียง 1 เข็ม
สัมผัสโรค > 72 ชั่วโมง
แต่ไม่เกิน 6 วัน
ให้ Immune globulin (IG) 0.25 มล./กก. IM
สัมผัสโรคเกิน 5 วัน
ควรให้ gamma globulin 0.25 มล./กก. IM และฉีดวัคซีนใหม่ใน 3 เดือนถัดไป
หัดเยอรมัน
โรคหัดเยอรมันที่เกิดภายหลังอาการ 3 ระยะ
ระยะอาการนำ(prodomal stage) มีอาการ
ปวดศีรษะ ปวดข้อ ไข้ต่ำๆไม่เกิน 38 องศา มีเจ็บคอร่วมด้วย 1-5 วัน
ระยะต่อมน้ำเหลืองโต (Lymphadenopathy)
ต่อมน้ําเหลืองโตภายใน 24 ชั่วโมง ที่หลังหู ท้ายทอย และด้านหลังของลําคอโต
ระยะผื่น (rash stage)เป็นสีชมพูจางๆกระจายห่างๆ เป็นแบบ Maculopapular rash เริ่มขึ้นที่หน้าแล้วลามไปทั่วตัวอย่างรวดเร็วภายใน 24 ชั่วโมง อยู่ไม่เกิน3วัน
โรคหัดเยอรมันแต่กำเนิด
อาการและอาการแสดง
ความพิการทางตา (ตาเล็ก
ต้อกระจก ต้อหิน)
ความพิการที่หัวใจ
ความผิดปกติ
ทางสมอง ศีรษะและสมองเล็ก
แรกเกิดจะพบมีตับม้ามโต มี
อาการตัวเหลือง มีจ้ำเลือดตามตัว และเกล็ดเลือดต่ำ
การวินิจฉัย
Lab ได้แก่ การเพาะเชื้อจากคอ และการตรวจ
Serologic test
การพยาบาล
เช็ดตัวลดไข้ ให้ยาลดไข้ ยาลดปวด
แยกผู้ป่วยแบบ Droplet precaution
7 วันก่อนผื่นขึ้นไปจนถึง 7 วันหลังผื่นขึ้น
หยุดเรียนพักผ่อนอยู่บ้านอย่างน้อย 7 วันหลังจากมีผื่นขึ้น
หลีกเลี่ยงการสัมผัสสารคัดหลั่งโดยตรง อาจพบเชื้อในปัสสาวะได้
การป้องกัน
ให้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัดเยอรมัน (MMR Vaccine) พร้อมกับโรคหัดและคางทูม
ควรฉีดวัคซีนล่วงหน้าก่อนการตั้งครรภ์ 3 เดือน
ควรหลีกเลี่ยงการพาทารก
ไปในที่สาธารณะเป็นเวลา 1 ปี
อีสุกอีใส
ระยะติดต่อ
1 – 2 วัน ก่อนผื่นขึ้นจนถึงประมาณ 7 วันหลังผื่นขึ้น พบบ่อยในเด็กอายุ 5-14 ปี
อาการและอาการแสดง
อาการไข้ มักเกิดขึ้นพร้อมผื่น
ผื่น เริ่มจากผื่นลักษณะแบนราบสีแดง เปลี่ยนเป็นตุ่มนูน หลังจากนั้นเปลี่ยนเป็นตุ่มน้ําใส และตกสะเก็ด มีอาการคัน ผื่นมักจะอยู่บริเวณลําตัว ใบหน้ามากกว่าแขนขา
ผลของไข้สุกใสต่อทารก
แม่ได้รับเชื้อไข้สุกใสภาย 20 สัปดาห์หลัง
ตั้งครรภ์ เด็กที่เกิดมาประมาณร้อยละ 2 จะเกิด
ความพิการแต่กําเนิดโดยมีอาการ แขนขาอ่อน
แรง ศีรษะเล็ก ตาบอด ชัก
เด็กที่เกิดจากแม่ที่เป็นไข้สุกใส 5 วันก่อนคลอด
หรือ 2 วันหลังคลอด ป้องกันได้โดยให้
varicella-zoster immune globulin
การพยาบาล
ห้ามใช้ aspirin เพราะอาจจะ
ทำให้เกิด Reye 'syndrome
ให้ยา Acyclovir ภายใน 24 ชั่วโมงแรกในผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็กป่วยโรคมะเร็ง หรือผู้มีอาการรุนแรง
บรรเทาอาการคันโดยใช้ผ้า gauze ชุบน้ําเกลือล้างแผลปิดแผล
แยกของใช้ โดยใช้หลัก Contact & Airborne
precautions
การป้องกัน
ฉีดวัคซีนป้องกันโรคสุกใส
โรคคางทูม
ระยะฟักตัว
16-18 วัน แต่อาจสั้นเพียง 12 วัน และนานถึง 25 วัน
อาการและอาการแสดง
อาการนำ สามารถพบไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร ปวดหลัง ปวดคอและปวดกล้ามเนื้อได้
ปวดและบวม บริเวณต่อม
น้ำลายพาโรติคข้างเดียว อาจบวมภายใน 2-3 ชั่วโมงหรือ 2-3 วัน
การป้องกัน
โดยการฉีดวัคซีน MMR เมื่ออายุ 9-12 เดือน และ 1.6 ปี
การพยาบาล
ดูแลความสะอาดปาก เพื่อลดการติดเชื้อ
บันทึกลักษณะ ปริมาณอาหารที่ควรได้รับแต่ละมื้อ พร้อมชั่งน้ำหนัก
หลีกเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มที่เป็นกรดหรือมีรสเปรี้ยว เพราะจะทำให้ปวดมากขึ้น
ประคบร้อนหรือประคบเย็นที่บริเวณหน้าหู หรือลูกอัณฑะที่อักเสบ
ติดตามประเมินอาการผิดปกติที่อาจเกิดจากภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ การปวดท้องส่วนบน อาเจียน กดเจ็บ
บริเวณลิ้นปี่ มีไข้ ปวดศีรษะ ซึมลง คอแข็ง หลังแข็ง รายงานแพทย์
ให้คำแนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ โดยแยกเด็กป่วยให้หยุดอยู่บ้าน หรือแยกจากผู้อื่น 9 วัน
โรคมือเท้าปาก
การติดต่อ
สารคัดหลั่งจากจมูก ลำคอ และน้ำจากในตุ่มใส อุจจาระของผู้ป่วยซึ่งมีเชื้อไวรัสอยู่ แพร่มากในสัปดาห์แรกที่ผู้ป่วยมีอาการ
อาการและอาการแสดง
มีผื่นและตุ่มน้ำขึ้นประมาณ 12-24 ชั่วโมง เป็นลักษณะตุ่มน้ำใส หรือเม็ดแดงๆ
ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
มีแผลในช่องปาก เป็น ulcer กลมเล็กกระจายที่ลิ้น เหงือก กระพุ้งแก้ม และเพดาน
การป้องกัน
การดูแลสุขอนามัยเด็กให้สะอาด
ให้วัคซีนป้องกันโรคมือเท้าปาก ในเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี 11 เดือน โดยให้ทั้งหมด 2 เข็ม ห่างกัน 1 เดือน
ถ้าเด็กเข้าเรียนแล้ว ให้เด็กหยุดเรียนชั่วคราวประมาณ 7 วัน
การพยาบาล
ให้อาหารอ่อนย่อยง่ายที่ไม่ร้อน ให้เครื่องดื่มที่มีรสหวานและเย็นเล็กน้อย
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำในเด็กที่ดื่มน้ำและรับประทานอาหารได้น้อยมาก
ถ้ามีไข้ให้เช็ดตัวลดไข้และให้ยาลดไข้
ป้ายยาแผลที่ปากก่อนรับประทานอาหาร เพื่อลดอาการเจ็บแผลในปาก
ดูแลให้เด็กพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ให้คำแนะนำผู้ปกครองไม่พาเด็กป่วยไป Day care /หรือโรงเรียนชั่วคราวประมาณ 7 วันจนกว่าผื่นจะหาย
ฉีดวัคซีนให้ในเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี 11 เดือน โดยให้ทั้งหมด 2 เข็ม ห่างกัน 1 เดือน
โรควัณโรค
ระบาดวิทยา
ละอองฝอยในอากาศ (Airborne transmission)
ระยะฟักตัว
ประมาณ 4 – 6 สัปดาห์
การวินิจฉัยโรค
เกณฑ์ที่ 2
ประวัติสัมผัสวัณโรค ได้แก่ การสัมผัสกับผู้ที่เป็นแหล่งโรค
ลักษณะการสัมผัสวัณโรค เช่น อยู่ใกล้ชิดกัน
การทดสอบ TST หรือ IGRAs
เกณฑ์ที่ 1 ลักษณะทางคลินิกเข้าได้กับวัณโรค
เกณฑ์ที่ 3 ภาพถ่ายรังสีทรวงอกเข้าได้กับวัณโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเสมหะ เพื่อย้อมสี Acid-fast bacilli (AFB)
เก็บเสมหะในเด็กเล็กอายุต่ ากว่า 7 ปี ใช้วิธี Gastric Washing
การทดสอบ Tuberculin skin test โดยสามารถแปลผล Tuberculin skin test ได้ดังนี้
ขนาดรอยนูน >= 10 มิลลิเมตรเป็นผลบวก
ในเด็กภูมิคุ้มกันต่ำ ใช้ขนาดรอยนูน >= 5 มิลลิเมตรเป็นผลบวก
อาการของวัณโรคในทารก
ไข้ ซึม ร้องกวน หายใจลำบาก กินนมไม่ได้ ตัวเหลือง ท้องอืด ต่อมน้ำเหลือง
และตับม้ามโต
การดูแลทารกที่คลอดจากมารดาที่ป่วยเป็นวัณโรค
มารดารักษา > 3 เดือน ให้ BCG ได้ตามปกติ ทารกไม่ต้องทำอะไรเพิ่ม กินนมแม่ได้
มารดารักษา < 3 เดือน ให้ BCG ได้ตามปกติ กินนมแม่ได้
มารดารักษา < 2 สัปดาห์หรือยังพบเชื้อในเสมหะ แยกมารดาและทารก กินนมแม่ที่บีบออกมาได้
การพยาบาล
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ประเมินว่าผู้ป่วยเด็กได้รับออกซิเจนเพียงพอหรือไม
จัดท่านอนให้หายใจสะดวก ศีรษะสูง ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งเสมอ
ดูแลให้ลดการใช้ออกซิเจนโดย มีไข้เช็ดตัวลดไข้
ดูแลโดยให้การพยาบาลแบบ Respiratory isolation
กระตุ้นและส่งเสริมให้ทำ DOT
โรคไข้เดงกี
เกณฑ์การวินิจฉัยโรค
พบภาวะเลือดออก ร่วมการทดสอบ tourniquet test ให้ผลบวก
Leucopenia เม็ดเลือดขาว < 5,000 /mm3
เกล็ดเลือด < 150,000 /mm3
ค่าความเข้มข้นเลือด (Hct) สูงขึ้นร้อยละ 5-10
โรคไข้เลือดออก
เกณฑ์การวินิจฉัย
เกล็ดเลือด < 100,000 เซล/ลบ.มม
WBC ต่ ากว่าปกติ (น้อยกว่า 5,000 เซล/ลบ.มม.)
ระดับ Hct (hemoconcentration) ≥ ร้อยละ20
อาาการที่ควรเฝ้าระวัง
มีอาการนำของภาวะช็อก ไม่ถ่ายปัสสาวะนาน 4-6 ชั่วโมง รอบปากคล้ำ ชีพจรเบาและเร็วขึ้น
2B นายภูวดล อินทรกุล เลขที่ 30