Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
apnea of prematurity, ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล - Coggle Diagram
apnea of prematurity
การรักษา
การรักษาด้วยการช่วยหายใจโดยใช้ความดันบวกตลอดเวลา (CPAP: Contineous Positive Airway Pressue)จะเป็นการเพิ่มความจุปอดขณะที่แรงยืดหยุ่นของปอดและทรวงอกอยู่ในสภาวะสมดุลและระดับออกซิเจนในเลือด โดยใช้ CPAP3-5เซนติเมตรน้ำ และควบคุมปริมาณออกซิเจนให้เหมาะสมเป็นการช่วยลดภาวะหยุดหายใจชนิดแบบอุดกั้นและแบบผสมได้ ถ้ายังพบทารกยังคงมีภาวะหยุดหายใจเป็นเวลานานและบ่อยครั้ง โดยเฉพาะในทารกคลอดก่อนกำหนด อายุครรภ์น้อยกว่า 28 สัปดาห์ จำเป็นต้องใช้ช่วยหายใจโดยใส่ท่อหลอดลมคอและให้ Intermittent Positive Pressure Ventilatio (IPPV)
ในทารกที่มีปอดปกติ ใช้ความดัน 10 - 15 เซนติเมตรน้ำ ความเข้มข้นออกซิเจน น้อยกว่า 0.25 หรือ
ให้แรงคันออกซิเจนในเลือดแดงอยู่ระหว่าง 60 - 80 มิลลิเมตรปรอท ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาหายใจเข้าออก ( 1 : E ) = 1:3 และอัตราการหายใจ 20 - 30 ครั้งต่อนาที เมื่อทารกมีอาการดีขึ้นให้รีบลุคการช่วยหายใจ (wean) จนสามารถนำทารกออกจากเครื่องช่วยหายใจได้
- การรักษาด้วยยาเพิ่มการทำงานของศูนย์หายใจ โดยใช้ยาช่วยกระตุ้นการหายใจ คือกลุ่มทีโอฟิล
ลีน (Theophylline ) 5 มิลลิกรัมกิโลกรัม ทางหลอดเลือดดำหรือทางปาก และต่อด้วย 1.5 - 2 มิลลิกรัม/กิโลกรัมครั้ง ทุก 8 - 12 ชั่วโมง จะกระตุ้นศุนย์การหายใจ กระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อ กะบังลมและลคระดับของการดั่งของคาร์บอนไดออกไซค์ที่จะกระตุ้นให้หายใจ ส่วนกาเฟอีน(Caftcine) มีครึ่งชีวิต(HalfLife) ยาวกว่าทีโอฟิลลีน และให้โดซาแพรม (Doxapram) ในกรณีที่รักษาด้วยทีโอฟิลลีน และกาเฟอีนไม่ได้ผล ไม่ควรใช้ในทารกอา 2 - 3 วันแรก เพราะอาจมีความดัน โลหิตสูงมากจนเกิดเลือดออกในโพรงสมองได้
ความหมาย
ภาวะหยุดหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนด (Apnea of Prematurity : AOP) หมายถึงการหยุดหายใจนานกว่า ๒๐ วินาที หรือนานพอที่จะมีอาการเขียวคล้ำ/desaturation และหรือมี bradycardia ร่วมด้วย สามารถแบ่งเป็น ภาวะหยุดหายใจแบบศูนย์กลาง (Central apnea)
๒. ภาวะหยุดหายใจแบบอุดกั้น (Obstructive apnea)
กิจกรรมทางการพยาบาล
- เฝ้าระวังทารกแรกเกิดก่อนกำหนดในกลุ่มเสี่ยง ที่มีอายุครรภ์และน้ำหนักน้อยมาก โดยการติดตามการหายใจ และอัตราการเต้นของหัวใจทารกอย่างใกล้ชิด ป้องกันมิให้หรือภาวะต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุของภาวะหยุดหายใจ
- จัดท่านอนของทารกไม่ให้ลำคองอหรือเหยียดเกินไป
- หลีกเลี่ยงการกระตุ้นบริเวณคอหอยส่วนหลัง เช่น การใช้สายยางดูดเสมหะที่มีขนาดไม่เหมาะสม หรือดูดเสมหะลึกเกินไป
- หลีกเลี่ยงการให้ออกซิเจนที่มีอุณหภูมิสูงหรือต่ำเกินไปมากระทบบริเวณใบหน้าทารก เพราะบริเวณใบหน้ามีประสาทสมองคู่ที่ 5 ซึ่งไวต่อความร้อนและความเย็น ทำให้มีการใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น
นำไปสู่การเกิดภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำได้
- หลีกเสี่ยงการทำให้กระเพาะอาหารหรือลำไส้มีการขยายตัวในทันทีทันใด ดังนั้น การให้นมทาง
สายยางควรให้อย่างช้า โดยการหยดอย่างต่อเนื่อง
- เมื่อพบว่าทารกหยุดหายใจให้กระตุ้นทารก โดยการลูบแขนขา หรือลำตัวเบา ๆ หากพบว่าทารกมีอาการสำรอกนมร่วมด้วย ควรดูคนมหรือสารคัดหลั่งออก และถ้าทารกยังไม่หายใจให้ใช้หน้ากากออกซิเจนต่อกับ ambu bag และให้ออกซิเจนที่มีความเข้มข้นเพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 10 หากอัตราการเค้นของหัวใจทารกไม่เพิ่มขึ้นภายใน 30 วินาทีหลังการช่วยหายใจ ควรเตรียมอุปกรณ์และเครื่องช่วยหายใจเพื่อใช้ความคันบวกในทางเดินหายใจอย่างต่อเนื่อง (Continuous Positive Airway Pressure : CPAP) หรือ พิจารณาใส่ท่อหลอดลมตามความเหมาะสม
- ในรายที่ต้องรักษาคั่วยยาเพื่อกระตุ้นศูนย์หายใจ ดูแลให้ทารกได้รับยากระตุ้นศูนย์การหายใจ
ตามแผนการรักษา ซึ่งยากระตุ้นศูนย์หายใจที่ใช้บ่อยคือ ยาในกลุ่ม Metty/xanthineได้แก่Theopbyline เละCaffine โดยก่อนการให้ยแก่ทารกทุกครั้ง ต้องประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารก หากมากกว่า 180ครั้งต่อนาที ควรงดการให้ยาไว้ก่อน
- ประเมินติดตามการตอบสนองต่อการรักษาภายหลังการให้ยา โดยภายหลังการ ได้รับยากระตุ้นศูนย์หายใจ อาการของภาวะหยุดหายใจของทารกควรจะหายไป
- ประเมินติดตามผลข้างเคียงของยาในกลุ่ม Methy(xanthines โดยย1 Theophylline อาจทำให้
เกิดผลข้างเคียงคังนี้ หัวใจเต้นเร็ว เกิดอาการท้องอืด ความสามารถในการรับนมน้อยลง สำรอกนม มีผลต่อการผาผลาญอาจเกิดน้ำตาลในเลือดสูง จึงควรมีการสังเกตอาการปีสสาวะออกมากและตรวจหาน้ำตาล ในปีสสาวะ อาการของระบบประสาท ทำให้เกิดอาการมือเท้าสั่น ตื่นตัวง่าย ถ้รุนแรงอาจเกิดอาการชักได้ส่วนยา Caffeine พบว่าเกิดผลข้างเคียงได้น้อยกว่า Theophylline หากแต่ผลข้างเคียงของยาในระยะยาวยังไม่ทราบแน่ชัด และการขับยานี้ออกจากร่างกายทำได้ช้า ดังนั้นจึงให้ยาแก่ผู้ป่วยเพียงวันละหนึ่งครั้ง
- ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจระดับยาในเลือด เนื่องจากทารกแต่ละรายจะมีการตอบสนองต่อยาที่แตกต่างกัน คังนั้นทารกจึงควรได้รับการตรวจระดับยาในเลือดเพื่อปรับระดับยา หากทารกมีการตอบสนองต่อยาน้อย หรือเกิดผลข้างเคียงของยามาก
- ประเมินติดตามภาวะหยุดหายใจของทารกภายหลังหยุดให้ยา เนื่องจากยังไม่มีการกำหนดระยะเวลาของการให้ยา และวิธีหยุดยาไว้แน่นอน ดังนั้นหากแพทข์มีแผนการรักษาให้หยุดยาดังกล่าวพยาบาลจะต้องประเมินติดตามภาวะหยุดหายใจของทารกภายหลังแพทย์หยุดให้ยา
เป้าหมายทางการพยาบาล
ภาวะหยุดหายใจในทารกแรกเกิด เป็นปัญหาสำคัญของทารกเกิดก่อนกำหนดที่เกิดจากหลายสาเหตุ
พยาบาลที่ดูแลจึงมีบทบาทในการเฝ้าระวังทารกแรกเกิดกลุ่มเสี่ยงอย่างใกล้ชิด ในรายที่รุนแรงควรเฝ้าระวังร่วมกับการใช้เครื่องติดตามการหายใจ (Apnca Monitoring) สามารถตรวจสอบการเคลื่อนไหวของทรวงอกและกระบังลม บันทึกอาการและความรุนแรง เช่น อาการเขียว ความตึงกล้ามเนื้อ ระยะเวลาที่หยุดหายใจอัตราการเค้นของหัวใจ ระดับออกซิเจนในเลือดรวมทั้งให้การช่วยเหลือทุกครั้ง เพื่อให้การพยาบาลที่ถูกต้องเหมาะสม ทั้งขังเป็นการลคอัตราเจ็บป่วย อัตราตาย และเกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ในการดูแลทารกแรกเกิดก่อนกำหนด
-
การวินิจฉัย
- หยุดหายใจเป็นเวลานานมากกว่า 15-20 วินาที
- ทำให้สีผิวของทารกเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน สีม่วง หรือซีด
- ในขณะเดียวกันจังหวะการเต้นของหัวใจช้าลง
อาการและการแสดง
ทารกของท่านจะได้รับการตรวจวัดดูระดับการหายใจอยู่ตลอดเวลา ถ้ามีการเสี่ยงว่าเขาอาจมีอาการหยุดหายใจ สัญญาณ
เตือนจะดังขึ้นถ้าทารกของท่านหยุดหายใจนานตามจำนวนวินาทีที่ตั้งไว้
เกณฑ์การประเมินผล
1.V/S อยู่ในเกณฑ์ปกติอายุ 1-8 ปี RR-15-30 ครั้ง/นาที่ PR=80-100ครั้ง/นาที BP=80-110/60-75 mmHg BT =37+-2 องศาเซลเชียส
-
-
4.WBC อยู่ในเกณฑ์ปกติ WBC :5,000-10,000 call/cu.mmNeutrophils (NE) 55-65%5.CXR ไม่พบร่องรอยของการติตเชื้อ
พยาธิสรีรวิทยา
การจำแนกชนิดของภาวะหยุดหายใจ สามารถแบ่งตามการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกระบังลม
และอากาศที่ผ่านรูจมูก สามารถแบ่งได้เป็น 3 แบบ คือ
- Central Apnea คือ การหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกระบังลมและ ไม่มี
อากาศที่ผ่านรูจมูก มีสาเหตุมาจากความไม่สมบูรณ์ของระบบควบคุมการหายใจ
- Obstructive Apnea คือ การหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกระบังลมแต่ไม่มีอากาศที่ผ่านรูจมูก
- Mixed Apnea คือ การหยุดหายใจที่มี Obstructive A pnea นำมาก่อนหรือตามหลัง Central Apnea
การประเมินทางการพยาบาล
-
-วัดและควบคุมอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมและอุณหภูมิร่างกายให้คงที่อยู่ในเกณฑ์ปกติเหมาะสมกับน้ำหนักและอายุทารก
-
-
-กรณีได้รับการช่วยหายใจด้วย NIPPV, NSIMV หรือ NCPAP ดูแลให้ setting ตามแผนการรักษา
ตรวจสอบข้อต่อต่าง ๆไม่ให้เลื่อนหลุด สังเกตการอุดตันของ nasal/ Hudson/ nasopharyngeal prongหรือ nasal cannula จาก secretion และการบาดเจ็บหรือมีเลือดออกในจมูก
การวินิจฉัยทางการพยาบาลนี้พบว่า NO DESAT ApOx มี OR ที่ 0.71 (95% CI 0.53 0.95) ในห้องฉุกเฉินที่ประเทส Australia และ New Zealand เมื่อเทียบ กับกลุ่ม Standard group. การใส่ท่อช่วยหายใจได้ในครั้งแรกหรือครั้งที่ 2 มีโอกาสเกิด Desaturation น้อยกว่าในกลุ่มที่ใส่ท่อช่วยหายใจมากกว่า 3 ครั้งในผู้ป่วยที่มี Desaturation มีความเกี่ยวข้องกับภาวะ difficult airway แต่สามารถเกิดกับคนปกติได้ 8.3%การวิจัยนี้สอดคล้องกับการวิจัยในอดีต ที่พบว่า ApOx ช่วยลดการเกิด Desaturation ซึ่งเป็นการใช้ NO DESAT และ THRIVE ApOx ในอนาคตควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อภาวะDesaturation ขณะทำ RSI และปัจจัยใดของผู้ป่วยที่จะได้ประโยชน์จาก การทํา ApOxจากผลการวิจัยนี้แนะนำให้ใช้ ApOx กับผู้ป่วยที่ได้รับการทำ RSI
-
-