Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abdominal injury - Coggle Diagram
Abdominal injury
Anatomy of abdomen
ส่วนใต้ชายโครงขวา ( right hypochondriac region )
Liver, Gallbladder, Right, Kidney, Small intestine
ท้องน้อยส่วนกลาง ( suprapubic or hypogastric region )
ส่วนสะดือ ( umbilical region )
ส่วนลิ้นปี่ หรือส่วนยอดอก ( epigastric region )
Stomach, Liver, Pancreas, Duodenum, Spleen, Adrenal Glands
Umbilicus (navel), parts of the small intestine, Duodenum
Urinary Bladder, Sigmoid Colon, Female Reproductive Organs
ส่วนใต้ชายโครงซ้าย ( left hypochondriac region )
Spleen, Colon, Left Kidney, Pancreas
ส่วนเอวขวา ( right lumbar region )
Gallbladder, Liver, Right colon
ส่วนเอวซ้าย ( left lumbar region )
Descending colon, Left Kidney
ส่วนท้องน้อยขวา ( right iliac region )
Appendix, Cecum
ท้องน้อยซ้าย ( left iliac region)
Descending Colon, Sigmoid colon
Abdominal Organ
liver injury
ปวดท้อง ปวดตึง มีรอยช้ำบริเวณท้องด้านขวา หรือปวดร้าวไปไหล่ขวาเนื่องจากการมีการระคายเคืองต่อกระบังลมขวา
Grade
2.bleeding ใต้แคปซูลร้อยละ 10-50 ของพื้นผิว หรือเลือดออกในเนื้อตับเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 cm.
แคปซูลฉีดขาดลึกไม่เกิน 3 cm. ยาวไม่เกิน 10 cm.
3.bleeding ใต้แคปซูลมากกว่าร้อยละ 50 ของพื้นผิว หรือก้อนเลือดโตขึ้น หรือมีเลือดออกไม่หยุด เนื้อตับมีเลือดออกเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 cm. หรือแคปซูลฉีกขาดร่วมกับเลือดไหลไม่หยุด
แคปซูลฉีดขาดลึกกว่า 3 cm. และไม่มีเลือดออก
bleeding ใต้แคปซูลน้อยกว่าร้อยละ 10 ของพื้นผิว และก้อนเลือดไม่ขยาย
แคปซูลฉีดขาดลึกไม่เกิน 1 cm. และไม่มีเลือดออก
bleeding ในเนื้อตับและเลือดไม่หยุดไหล
ตับถูกทำลาย ร้อยละ 20-75
ตับหลุดขาด avulsed liver
ตับถูกทำลายมากกว่าร้อยละ 75
มีการบาดเจ็บของหลอดเลือดดำที่เลี้ยงตับ
การรักษา
ไม่ผ่าตัด ร้อยละ 50 ของการบาดเจ็บที่ตับ ไม่ต้องผ่าตัดและรักษาตามอาการ เช่น ให้นอนพัก ให้สารน้ำ v/s ติดตามค่า Hct
ผ่าตัด จะผ่าตัดในรายที่มีการฉีกขาดของเนื้อตับมาก Grade 3 ขึ้นไป v/s ไม่ปกติ HR เร็ว Bp drop
spleen injury
ส่วนใหญ่เกิดจากแรงกระแทก เช่น ตกจากที่สูง และอุบัติเหตุจากการจราจร
ปวดท้องบนด้านซ้ายร้าวไปไหล่ kehr’s sign เนื่องจากมีการระคานเคืองต่อเส้นประสาทที่เลี้ยงกระบังลม tenderness กล้ามเนื้อหน้าท้องเกร็งเมื่อถูกกด ท้องอาจโป่งจาก bleeding หาก active bleeding จะทำให้ [shock
การรักษา
ไม่ผ่าตัด เป็นทางเลือกแรกในการรักษาการบาดเจ็บที่ม้ามจากแรงกระแทก เพื่อหลีกเลี้ยงอาการแทรกซ้อนภายหลังผ่าตัดม้าม ทำได้ใน Pt. v/s stable ให้น้อนพักบนเตียง Hct. ประเมินและตรวจร่างกายซ้ำๆเป็นระยะๆ
การผ่าตัด จะผ่าในรายที่มีการบาดเจ็บระดับ 3 ขึ้นไป v/s ไม่ปกติ มีบาดเจ็บที่อื่นร่วมด้วย หรือมีประวัติการได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด
Grade
bleeding ใต้แคปซูลมากกว่าร้อยละ 50 ของพื้นผิว หรือก้อนเลือดโตขึ้น หรือมีเลือดออกในเนื้อม้ามกว้างมากกว่า 5 cm. หรือแคปซูลฉีกขาดร่วมกับเลือดไหลไม่หยุด
เนื้อม้ามฉีกหนามากกว่า 3 cm. และมีการฉีกขาดของหลอดเลือด
ม้ามแตกร่วมกับเลือดออกไม่หยุด บางส่วนของม้าม หรือหลอดเลือดในม้ามฉีกขาด ประมาณร้อย 25 ของม้ามไม่มีเลือดไปเลี้ยง
bleeding ใต้แคปซูลร้อยละ 10-50 ของพื้นผิว และก้อนเลือดไม่โตขึ้น หรือเลือดออกในเนื้อม้ามเส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า 5 cm.
แคปซูลฉีดขาดลึกร่วมกับเลือดไหลไม่หยุด หรือเนื้อม้ามฉีกลึกประมาณ 1-3 cm.
ม้ามแตกเละ shattered spleen ไม่มีเลือดไปเลี้ยงม้าม
bleeding ใต้แคปซูลน้อยกว่าร้อยละ 10 ของพื้นผิว และก้อนเลือดไม่ขยาย
แคปซูลฉีดขาดลึกไม่เกิน 1 cm. และไม่มีเลือดออก
Stomach injuries
กระเพาะอาหารเป็นอวัยที่สามารถขยายตัวง่าย ถ้าไม่มีอาหารอยู่ภายในจะสามารถทนแรงกระแทกได้ดี การบาดเจ็บที่กระเพาะอาหารจึงเกิดขึ้นได้น้อย การบาดเจ็บอาจเกิดร่วมกับการบาดเจ็บของหลอดอาหารและบาดเจ็บหลายระบบ ส่วนใหญ่มาจากวัตถุที่มีอำนาจทะลุทะลวง เพราะกระเพาะอาหารมรขนาดใหญ่และอยู่ด้านบนสุดของช่องท้อง
ปวดท้องด้านซ้ายบน ตึงท้อง ดูดสารน้ำจากกระเพาะอาหารได้เป็นเลือด ภาพถ่ายรังสีท้องพบลม หรือ x-ray พบกระเพาะอาหารทะลุ
การรักษา ต้องผ่าตัดทุกราย
Bowel injuries
ลำไส้เป็นอวัยวะที่กลวง มีเลือดมาเลี้ยงมาก มีความยาวประมาณ 32 ฟุต เนื่องจากเป็นอวัยวะที่อยู่ด้านหน้าและไม่มีอวัยวะอื่นเป็นโล่กำบัง จึงมีความเสี่ยงสูงต่อการบาดเจ็บทั้งจากแรงกระแทกและจากการทะลุทะลวง ซึ่งจะทำให้ลำไส้โผล่ออกมานอกช่องท้อง (bowel evisceration)
ปวดท้อง ปวดท้องเกร็ง ปวดมากขึ้นเรื่อยๆ หากลำไส้ทะลุจะมีการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรีย ทำให้เกิดการอักเสบ peritonitis bowel sound ลดลง
หากลำไส้ทะลุต้องเข้ารับการผ่าตัด การดูแลเบื้องต้น ต้องดูแลไม่ให้ลำไส้แห้งโดยการคลุมด้วยก๊อซชุบ 0.9 NSS ให้สารน้ำให้เพียงพอ เตรียมผู้ป่วยเพื่อเข้ารับการผ่าตัด
Pancreas injuries
การบาดเจ็บส่วนใหญ่มักมีสาเหตุมาจากวัตถุที่มีอำนาจทะลุทะลวง การบาดเจ็บจากแรงกระแทกจะพบได้น้อย
ปวดท้อง บางรายอาจปวดหลัง มีรอยฟกช้ำรอบสะดือ เอมไซม์ตับอ่อนสูงขึ้น ส่วนใหญ่มักมีการบาดเจ็บร่วม เลือดออกมากและมีโอกาสเสียชีวิตได้
การรักษา รักษาตามอาการส่วนใหญ่จะไม่ผ่าตัด
Vascular injuries
หลอดเลือดในช่องท้องส่วนใหญ่เป็นหลอดเลือดใหญ่ทั้งหลอดเลือดดำและหลอดเลือดแดง สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากวัตถุที่มีอำนาจทะลุทะลวง
การบาดเจ็บของหลอดเลือดทำให้ช็อคจากเลือดออกมากและเสียชีวิตได้
ภาวะแทรกซ้อน
Hematoma rupture
Peritonitis : เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
Intra abdominal collection of pus(abcess)
ฝีในช่องท้องอาจเกิดจากแบคทีเรีย หากปล่อยทิ้งไว้โดยไม่ได้รับการรักษา แบคทีเรียก็จะขยายตัวเพิ่มขึ้น อาจทำให้เกิดการอักเสบและทำลายเนื้อเยื่อที่ดีได้
Intestinal blockage(obstruction)
ลำไส้อุดตัน(อุดตัน)
Abdominal compartment syndrome
ความดันในช่องปิดของกล้ามเนื้อท้องสูง
การพยาบาล
ระยะวิกฤตและก่อนการผ่าตัด
จัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆ ให้พร้อมที่จะใช้ได้ทันที ถ้าผู้ป่วยเกิดภาวะช็อก
ดูแลให้ได้รับสารละลายทางหลอดเลือดคำอย่างเพียงพอและถูกต้องตามแผนการรักษา
3.บันทึกและสังเกตสิ่งต่าง ๆ อังนี้ สัญญาณชีพและอาการเปลี่ยนแปลงต่างๆ บันทึกค่าความดัน เลือดดำส่วนกลาง และจำนวนปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง สังเกตอาการและอาการแสดงอื่น ๆ เช่น ปวดท้องมาก ขึ้น มีไข้สูงท้องอืดมาก กดเจ็บทั่วท้อง หน้าท้องแข็งตึง ประเมินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้แบบบีบรูด (bowel sound) บ่อยๆ สังกตและบันทึกปริมาณเลือดที่บริเวณบาดแผล สังเกตอาการและอาการแสดงของ ผู้ป่วยที่เกิดจากการได้รับ สารอาหาร และสารน้ำ ไม่เพียงพอ สังเกตอาการและอาการแสดงของการมีเลือดออก ง่ายในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด วัดรอบท้องทุกวันในผู้ป่วยที่มีภาวะท้องมานน้ำร่วมด้วย
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนหงายศีรษะสูง 30 องศา (semi Fowler's position หรือนอนหงายศีรษะสูง 45 องศา (Fowler's position) สำหรับผู้ป่วยที่เริ่มมีภาวะช็อก ควรจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนหงายราบ ศีรษะสูง เล็กน้อย ยกปลายเท้าสูง 20 - 30 องศา เหยียดตรง
ดูแลการใช้เครื่องมือพิเศษที่ใช้ควบคุมภาวะเลือดออกที่ออกจากอวัยวะภายในร่างกาย (MAST) โดย การใช้ความดันจากภายนอก ตามแผนการรักษาของแพทย์ (ถ้ามี)
เจาะเลือดเพื่อตรวจหาค่าฮี โมโกลบิน ฮีมาโตคริต อิเลคโตร ไลท์ และผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ อื่น ๆ ตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลทางด้านจิตใจ โดยการเอาใจใส่ผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด พูดคุยให้ความสนใจแก่ผู้ป่วยและญาติตาม ความเหมาะสม
ดูแลการได้รับยาให้ถูกต้องตามแผนการรักษา เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาบรรเทา ปวด
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่างเพียงพอ
ทำการพยาบาลให้ผู้ป่วยโดยยึดเทคนิคปราศจากเชื้อ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบถึงวิธีการปฏิบัติตัวให้ถูกต้องตามแผนการรักษาของแพทย์
ระยะหลังได้รับการผ่าตัด
1) จัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องใช้ ได้แก่ ยาที่จำเป็น ต้องเตรียมให้พร้อมที่จะใช้ได้ทันที
2) สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยหลังผ่าตัดอย่างใกล้ชิด
3) ดูแลให้ได้รับ สารอาหาร น้ำ อิเลคโตร ไลท์ และเลือด ให้
ถูกต้องตามแผนการรักษาของแพทย์
4) ดูแลการให้ได้รับ ออกซิเจน ยาปฏิชีวนะหรือยาอื่นๆ ให้ถูกต้องตาม
แผนการรักษาของแพทย์
5) ดูแลให้มีการระบายของสารเหลวออกจากกระเพาะ หรือสารเหลวที่ออกจากท่อระบายต่างๆ
6) บันทึกจำนวนลักษณะ สี ของสารเหลวที่ออกมาทางสายยางหรือท่อระบาย อย่างถูกต้อง
7) ทำความสะอาดแผลผ่าตัดและแผลผ่าตัดรอบๆ ท่อระบายบ่อยๆ
8)ชั่งน้ำหนักตัวสัปดาห์ละครั้ง หรือตามแผนการรักษาของแพทย์
9)แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ป่วยหลังผ่าตัดมีการออกกำลังกายบนเตียง
10 )ดูแลทางด้านจิตใจ โดยการพูดคุยให้ความสนใจ เอาใจใส่อย่างใกล้ชิด
11) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
12) ประเมินเสียงการเคลื่อนไหวแบบบีบรูดของลำไส้ทุก 8 ชั่วโมง เพื่อดูการทำงานของลำไส้
13) สอนและ แนะนำผู้ป่วยให้ทราบถึงวิธีการปฏิบัติตัวขณะที่อยู่โรงพยาบาลและเมื่อกลับไปอยู่ที่บ้าน หากเป็นไปได้ควร สอนและแนะนำญาติด้วย เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ป่วยได้ถูกต้อง
กลไกการบาดเจ็บ
Penetrating injury
การบาดเจ็บจะขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาวุธ ถ้าเกิดจากกระสุนปืน จะเกิดการบาดเจ็บต่ออวัยวะช่องท้องได้ถึง 80 % และ 20 - 30 % จากบาดแผลถูกยิง แทง
การบาดเจ็บบริเวณช่องท้องอาจทำให้อวัยวะในช่องอกได้รับบาดเจ็บด้วย รวมทั้ง diaphragm
ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัด
การบาดเจ็บที่ทำให้เกิดภาวะ shock
การบาดเจ็บที่ตรวจพบ Peritonitis (เยื่อบุช่องท้องอักเสบ)
การบาดเจ็บจากกระสุนปืนผ่านเยื่อบุช่องท้อง (Peritoneum)
การบาดเจ็บที่มีอวัยวะออกมานอกช่องท้อง (evisceration)
Blunt Trauma
การบาดเจ็บที่เกิดจากแรงกระแทก มีสาเหตุจากอุบัติเหตุยานพาหนะเป็นส่วนใหญ่ โดยอวัยวะที่พบบาดเจ็บมากที่สุดได้แก่ ตับ ม้าม ไต มักได้รับบาดเจ็บจากแรงกระแทกมากกว่าลำไส้ และเป็นสาเหตุของการเสียเลือดจน Shock
การพยาบาลฉุกเฉิน
1.IV fluid
2.การ stop bleeding
3.Dressing of wound
4.เมื่อถูกเเทงด้วยของมีคม ไม่ดึงวัตถุออกให้วัตถุอยู่กับที่
5.ให้ออกซิเจน กรณีเสียเลือดมาก
6.Analgesics ยาแก้ปวด
7.ไม่เคลื่อนไหวผู้ป่วย เมื่อกระดูกเชิงกรานหัก
ATLS
การประเมินเบื้องต้น
(Initial assessment)
primary survey
X-A-B-C-D-E
Breathing and ventilation
Obs. RR, Pattern, O2sat
อุปกรณ์ที่ใช้ช่วยเพิ่มออกซิเจน
– Nasal Cannular
– Simple face mask
– Bag valve mask
Circulation with hemorrhage control
สีผิวและอุณหภูมิ (Skin) ซีดไหม เหงื่อออกไหม ตัวเย็นไหม
การคลำชีพจร (Pulse) เต้นช้า-เร็วไหม ความแรงสม่ำเสมอไหม จังหวะสม่ำเสมอไหม
ตรวจ Capillary refill time กดเล็บของผู้ป่วย
Airway with C-spine protection
ถ้ารู้สึกตัว ถามชื่อ
ถ้าไม่รู้สึกตัว ฟังเสียงหายใจ
การเปิดทางเดินหายใจ
การทำ head tilt chin lift (กดหน้าผากและยกคางให้แหงนขึ้น) Trauma jaw thrust (ยกขากรรไกรล่าง กรณีบาดเจ็บที่กระดูกคอ) หรือ Trauma Chin lift (ยกขากรรไกรล่าง อีกคนดึงคาง)
แบบใช้อุปกรณ์
– Oropharyngeal airway (ทำโดย EMT ขึ้นไป โดยศูนย์สั่งการฯ สั่งเท่านั้น)
– Nasopharyngeal airway (ทำโดยผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น)
Disability
ระดับการรู้สึกตัว (Level of concious)
– A รู้สึกตัวดี (Alert)
– V ตอบสนองต่อเสียงเรียก (Response to Verbal)
– P ตอบสนองต่อความเจ็บปวด (Response to Pain)
– U ไม่รู้สึกตัว (Unresponsive)
Disability (การประเมินระบบประสาท) กระตุ้นด้วยความเจ็บปวด
– การกดที่ปลายเล็บ
– กดที่กล้ามเนื้อบริเวณหัวไหล่ด้านหลัง (Trapezius)
– กดที่ขอบตาบน (Supraorbital Notch)
ระดับการรู้สติ (Level of concious) E-V-M
E : Eye response
– E1 ไม่ลืมตา
– E2 ลืมตาเมื่อเจ็บ
– E3 ลืมตาเมื่อเรียก
– E4 ลืมตาได้เอง
V : Verbal response
– V1 ไม่ออกเสียง
– V2 ออกเสียงไม่เป็นภาษา (ไม่มีความหมาย)
– V3 ออกเสียงเป็นภาษา เป็นคำ ๆ (มีความหมาย)
– V4 ออกเสียงเป็นประโยค แต่สับสน
– V5 พูดคุย ถามตอบรู้เรื่อง
M : Motor response
– M1 ไม่ขยับ
– M2 แขน ขา เหยียดเกร็ง
– M3 แขน ขา งอแบบผิดปกติ
– M4 ขยับเมื่อเจ็บ แต่ปัดไม่ถูกตำแหน่งเจ็บ
– M5 เอามือปัดตำแหน่งเจ็บได้
– M6 ทำตามคำสั่งได้
Exposure and environment control
– เปิดเสื้อผ้าออก ดูบาดแผลเพิ่มเติมทั่วร่างกาย
– ดูแขนขาบวม มีแผลกดทับหรือไม่
Exsanguination hemorrhage control arterial bleeding
การห้ามเลือดจากแผลภายนอก
-การประเมินเลือดออก ลักษณะของแผล ขนาดแผล ชนิดอาวุธ ตำแหน่ง
-การกดที่แผลอย่างน้อย 10 นาที
-การใช้ผ้าพันแผลเพื่อห้ามเลือด
secondary survey
การตรวจร่างกาย
ดู
ความผิดปกติของผิวหนังหรือเนื้อเยื้อบริเวณหน้าท้อง เอวและหลัง
รอยถลอก รอยคาดเข็มขัดนิรภัย หรือแผลฟกช้ำใต้สะดือ
ถ้าพบท้องโตตึง
การมีลมในท้อง (pneumoperitoneum)
ซึ่งอาจเกิดจากการบาดเจ็บ หรือการใส่เครื่องช่วยหายใจ หรือกลืนลมเข้าท้องมาก
กระเพาะอาหารโป่ง (Gastric dilatation)
ท้องที่โตตึงมาก อาจบ่งชี้ภาวะ internal bleeding
ฟัง
bowel sound
ถ้าไม่ได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้อาจจะไม่ใช่การบาดเจ็บที่ท้องอย่างเดียว แต่อาจเกิดการช็อก หรือลำไส้ไม่ทำงาน (bowel ileus)
bruit หรือ murmur เสียงฟู่
มีการบาดเจ็บของหลอดเลือด
หรือมีการทะลุระหว่างหลอดเลือดแกงกับหลอดเลือดดำ
(traumatic arteriovenous fistula)
ถ้าได้ยินเสียง bowel sound ในช่องทรวงอก แสดงว่ามีการบาดเจ็บของกระบังลมร่วมด้วย
คลำ
ถ้าคลำแล้วรู้สึกผิวหนังไม่สม่ำเสมอที่ทรวงอกด้านล่าง บ่งชี้ถึงการบาดเจ็บที่ม้ามหรือตับร่วมกับซี่โครงซี่ล่างหัก
ถ้าคลำที่เชิงกราน หากมีกระดูกเคลื่อนหรือไม่มั่นคงแสดงว่ามีการหักของกระดูกเชิงกราน และอาจพบการบาดเจ็บร่วมของทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
มีอาการปวดสะโพกและปัสสาวะเป็นเลือด (hematuria)
เคาะ
จะช่วยแยกภาวะที่มีลมหรือเลือดในช่องท้องได้
เสียงโปร่ง (tympanic sound)
บ่งบอกถึงมีลมในช่องท้อง
เสียงทึบ (diffuse dullness)
บ่งบอกถึงมีเลือดออกในช่องท้อง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC, Electrolyte, INR, Liver function test, BUN, Cr, eGFR, ABG,
การตรวจพิเศษ
Chest X-ray
Plain film abdomen ภาพถ่ายรังสีช่องท้อง
Ct whole abdomen
Cystography
Retrograde Urethrography
การซักประวัติ
การบาดเจ็บที่ท้องอาจไม่มีแผลชัดเจน และไม่แสดงอาการในระยะแรก ถ้าพบว่ามีประวัติต่อไปนี้ให้สงสัยว่าน่าจะมีการบาดเจ็บที่ท้อง
ได้รับแรงกระแทกบริเวณลำตัว เอว ชายโครง หรือสีข้างอย่างรุนแรง หรือการหยุดรถอย่างกระทันหัน หรือได้รับบาดเจ็บหลายระบบ
อาการและอาการแสดง
bowel sound ลดลง
มีรอยถลอก รอยฟกช้ำ หรือตุ่มน้ำที่ท้อง
คลื่นไส้ อาเจียน
มีรอยฟกช้ำรอบๆ สะดือ (Cullen's sign) หรือบริเวณสีข้าง (Grey Turner's sign)
ปวดท้อง ท้องโตตึง ปวดมากเมื่อกดแล้วปล่อยเร็วๆ (Rebound tenderness)
Hypovolemic Shock
อวัยวะภายในออกมานอกช่องท้อง (Organ evisceration)
ปวดไหล่ซ้ายอย่างรุนแรง (Kehr's sign)
เลือดออกจากแผล หรือมีอาวุธปักคาที่ท้อง หรือสีข้าง
มีเลือดออกจากระบบทางเดินอาหารหรือมีเลือดปนออกมากับสารคัดหลั่งจาก NG tube
ผิวหนังหน้าท้องมีแผลฉีกขาดหรือรูทะลุ
การบาดเจ็บที่ท้องจะทำให้อวัยวะที่อยู่ภายใน เช่น ตับ ม้าม ไต ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ ตลอดจนหลอดเลือดใหญ่ ได้รับบาดเจ็บ
ซึ่งการประเมินจากการตรวจร่างกายภายนอก อาจพบเพียงแผลฟกช้ำเพียงเล็กน้อย แต่ผู้ป่วยอาจเกิดภาวะช็อกจากการเสียเลือดมาก
หรือเกิดการติดเชื้อในลำไส้ หรืออวัยวะภายในแตกทะลุเข้าไปในช่องท้องได้