Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เตียง 7 เด็กหญิงวรรณิดา มาทอง อายุ 2 ปี 4 เดือน 28 วัน Diagnosis…
เตียง 7 เด็กหญิงวรรณิดา มาทอง
อายุ 2 ปี 4 เดือน 28 วัน
Diagnosis Pneumonia Admit 5/3/2567
CC
มีไข้ ไอ 1 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
อาการแรกรับ
ผู้ป่วย Active ดีหายใจ Room air หายในแรง คอ และอกบุ๋ม
V/S แรกรับ T 36.7 องศาเซลเซียส P 148 bpm RR 40 bpm BP 117/62 Ming O2sat 96% น้ำหนัก 12.7 kg ส่วนสูง 91 cm
PI
7 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไอน้ำมูกมีเสมหะเป็นสีเขียว
3 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไอน้ำมูกสีใส
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล เวลา 13:00 น พ่อเห็นว่าผู้ป่วยตัวร้อนอ่อนเพลียมีไข้ไม่ได้วัดอุณหภูมิกินได้น้อย ซึมลง ปลุกตื่น ถามตอบได้ มีไอไม่ได้สังเกต เสมหะ คลื่นไส้
อาเจียน อาเจียนเป็นเศษอาหารปนนม ไม่มีเลือดปน เสมหะสีใส ได้ยาพาราเซตามอลและเช็ดตัวแล้ว ไข้ลง จากนั้นเข้านอนตื่นเช้ามาไม่มั่นใจเวลา แม่สังเกตเห็นมีหอบเหนื่อย หายใจท้องกระเพื่อมจึงพามาโรงพยาบาล
ประวัติในอดีต
ไม่มีโรคประจำตัว ไม่แพ้ยา ไม่แพ้อาหาร
เคยรักษาไข้หวัดใหญ่ RSV
ประวัติแรกเกิด
คลอดครบกำหนด NL ที่โรงพยาบาลทหารเรือ
มีการเจ็บป่วยคือมีรกพันคอประมาณ 1 เดือน
ยาที่ได้รับ
ยากิน
Bromhexine Syrup 3 ml po tid pc เวลา 7,12,17
Paracetamol syrup (120) 6 ml po prn for fever q 4-6 hr
Montek (10) 1/2 tab po has เวลา 20
ยาพ่น
Ventolin Solution 0.4 ml+3%Nacl up to 4 ml
NB q 4 hr เวลา 2,6,10,14,18,22
พยาธิสภาพ
โรคปอดอักเสบโดยมีการอักเสบติดเชื้อของปอดเชื้อโรคจะบุกรุกเข้าปอดแล้วขับสารพิษออกมากลไกการป้องกันโรคของร่างกายจึงมีการขับสารคัดหลั่งหรือนำโรคปอดอักเสบโดยมีการอักเสบติดเชื้อของปอดเชื้อโรคจะบุกรุกเข้าปอดแล้วขับสารพิษออกมากลไกการป้องกันโรคของร่างกายจึงมีการขับสารคัดหลั่งหรือนำเมือกออกมาเพื่อดักจับเชื้อโรค โดยพบว่ามีการรวมตัวของ debris และ exudate คั่ง มักจะส่งผลให้เกิดอาการได้แก่อาการไอหายใจเร็วหอบหายใจหายใจลำบากมักจะส่งผลให้เกิดอาการได้แก่อาการไอ หายใจเร็ว หอบ หายใจลำบากมี
Chest traction,Nasal flaring ฟังเสียงปอดอาจมีเสียง crepitation, Rhonchi ร่วมด้วย
กรณีศึกษา
ผู้ป่วย case Pneumonia มีอาการไอ ไข้ เสมหะ
หายใจแรง คอ อกบุ๋ม
ฟังปอดได้ยินเสียง Crepitation at RLL
Rhochi at RUL
มี Subcostal & Substernal retraction
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ [เฉพาะผิดปกติ]
CBC วันที่ 5|3|2567
WBC 13060 cell/ml ค่าปกติ 5000-10,000 cell/ml
สูงกว่าปกติ
HBG 11.5 g/dl ค่าปกติ 12.0-16.0 g/dl ต่ำกว่าปกติ
Hct 36.3 % ค่าปกติ 37.0-47.0% ต่ำกว่าปกติ
MCV 74.6 fl ค่าปกติ 80-100 fl ต่ำกว่าปกติ
MCH 23.6 pg ค่าปกติ 27.0-33.0 pg ต่ำกว่าปกติ
RDW 15.3 % ค่าปกติ 12.2.-14.7% สูงกว่าปกติ
Atical lymphocytes 4.0% ค่าปกติ 0.0-3.0 %
สูงกว่าปกติ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 1 ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อของร่างกายพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอดลดลงจากพยาธิสภาพของโรคปอดอักเสบ
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีอาการไอ มีเสมหะ หายใจแรง คอและอกบุ๋ม ฟังปอดได้ยินเสียง Crepitation at RLL , เสียง Rhochi at RUL มี Subcostal & Substernal retraction
On O2 HHFNC แบบ air vo 15 LPM
เป้าหมาย ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอต่อความต้องการการพยาบาลและไม่มีภาวะพร่องออกซิเจน
ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 1-2 ชั่วโมง และติดตามภาวะหายใจล้มเหลวสังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะหายใจไม่มีประสิทธิภาพ เช่น อัตราการหายใจลักษณะการหายใจการเคลื่อนไหวของทรวงอกเพื่อพิจารณาปรับแนวทางการรักษาพยาบาลให้เหมาะสมเพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา เพื่อเพิ่มความเข้มข้นของออกซิเจนในอากาศขณะหายใจเข้าให้เพียงพอโดยผู้ป่วยควรจะมีระดับออกซิเจนในเลือด (O2 Saturation) 95-100%
ได้รับ HHFNC Air VO 15 LPM
การประเมินความพร้อมในการยุติการใช้ออกซิเจน ได้แก่ ระดับความรู้สึกตัว สัญญาณชีพ ลักษณะการหายใจ ไม่หอบเหนื่อย ลักษณะการเคลื่อนไหวของทรวงอกไม่ใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจความสามารถในการไอขับเสมหะลักษณะปริมาณ
4.จัดท่านอนให้อยู่ในท่าศีรษะสูงประมาณ 30องศาใช้ผ้าหนุนให้คอแหงนเล็กน้อย เพื่อให้ปอดขยายตัวได้ดีและมีการระบายอากาศที่ดี
5.ดูแลให้พักผ่อนโดยจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ รบกวนผู้ป่วยเมื่อจำเป็น และพยายามทำการพยาบาลให้เสร็จสิ้นในช่วงเวลาเดียวกัน
6.แนะนำให้ผู้ปกครองสังเกตลักษณะการหายใจที่ผิดปกติเช่น หายใจหอบมากขึ้น หายใจลำบาก
7.ช่วยระบายเสมหะด้วยการทำกายภาพบำบัดทรวงอกและดูดเสมหะ ในรายการที่ตรวจพบว่ามีเสมหะมากและเป็นสาเหตุของการอุดกั้นทางเดินหายใจ
การประเมินผล
ผู้ป่วยมีอาการไอ เสมหะ อาการหอบเหนื่อยลดลง ฟังปอดไม่ได้ยินเสียงCrepitation at RLL , เสียง Rhochi at RUL ไม่มี Subcostal & Substernal retraction
ค่า O2 sat 99%
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยมีอาการไอ เสมหะ อาการหอบเหนื่อยลดลง ฟังปอดไม่ได้ยินเสียงCrepitation at RLL ,
เสียง Rhochi at RUL ไม่มี Subcostal & Substernal retraction
ค่า O2 sat 95-99%
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 2
ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยเป็นโรคปอดอักเสบ
มีไข้ T 39.5 องศาเซลเซียส
มีไอ เสมหะสีใส
ฟังปอดได้ยินเสียง Crepitation at RLL , เสียง Rhochi at RUL มี Subcostal & Substernal retraction
เป้าหมายทางการพยาบาล
ไม่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
เกณฑ์การประเมิน
เสมหะลดลงไม่มีไข้ (อุณหภูมิร่างกาย = 36.5-37.5 องศาเซลเซียส) ไม่มีการไอ
หายใจปกติ ไม่มีอาการเหนื่อยหอบ คออกบุ๋มลดลงฟังเสียงหายใจไม่พบเสียงผิดปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก universal precaution techniqueและaseptic techniqueโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการดูดเสมหะ
2.ล้างมือก่อนและหลังดูแลผู้ป่วย
3.ดูแลทำความสะอาดช่องปาก
4.ทำกายภาพบำบัดทรวงอกเพื่อลดการคั่งของเสมหะในทางเดินหายใจ
5.แยกผู้ป่วยเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อและการติดเชื้อในโรงพยาบาล
6.ให้การพยาบาลเช็ดตัวลดไข้ เมื่ออุณหภูมิร่างกาย มากกว่า38 องศาเซลเชียส และดูแลให้ยาลดไข้ตามแผนการรักษาวัดอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชั่วโมง
7.ดูแลให้ได้รับยาพ่น Ventolin 0.4 ml + 3% Nacl up to 4 ml NB q 4 hr ตามแผนการรักษา
การประเมินผล
เสมหะลดลงไม่มีไข้ (อุณหภูมิร่างกาย = 36.5-37.5 องศาเซลเซียส) ไอลดลง
หายใจปกติ ไม่มีอาการเหนื่อยหอบ คออกบุ๋มลดลงฟังเสียงหายใจ ได้ยินเสียงCrepitation at RLL , เสียง Rhochi at RUL ลดลง
ไม่มี Subcostal & Substernal retraction
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 3
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะ on High flow nasal cannula
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยon High flow nasal canula flow 15 LPM
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะ on High flow nasal cannula
เป้าหมายทางการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะon High flow nasal cannula
กิจกรรมการพยาบาล
1.เลือก nasal cannula ที่มีขนาดระยะห่างระหว่าง nasal prong 2 ข้าง พอดีกับรูจมูก และมีขนาดของท่อ nasal prong ประมาณครึ่งหนึ่งของรูจมูก เพื่อให้สะดวกในการระบายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และความดันบวกที่สูงเกินออกสู่ภายนอก
2.จัดตำแหน่งของ cannula ให้อยู่บริเวณกึ่งกลาง ใส่สายให้สุดรูจมูก ให้ออกซิเจนที่มีความร้อนผ่านเข้าสู่ทางเดินหายใจได้สะดวก ความร้อนไม่สะสมบริเวณโพรงจมูก ไม่เกิดการควบแน่นของน้ำ
3.อธิบายให้ผู้ปกครองช่วยปิดปากผู้ป่วยให้สนิท เพื่อให้เกิดประสิทธิผลในการเพิ่ม PEEP หรือในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถปิดปากได้ พิจารณาใช้สายรัดคางช่วย
4.มีการตรวจสอบและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้งานเช่น แผลกดทับในจมูกจากการใส่ตำแหน่งcannula ที่ชิดจมูกมากเกิน
5.สังเกตอาการท้องอืด เนื่องจากอาจมีออกซิเจนบางส่วนรั่วเข้าไปในทางเดินอาหารทำให้เกิดอาการท้องอืด
6.เฝ้าระวังค่า 02 saturation ถ้าลดลงอย่างรวดเร็ว มีอาการเหนื่อยมากขึ้นทันทีรายงานแพทย์ทันทีเพื่อ พิจารณาตรวจchest X-ray ประเมินภาวะลมรั่วของเยื่อหุ้มปอด
การประเมินผล
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะ on High flow nasal cannula
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 4
ผู้ปกครองมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับผู้ป่วยเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและการดูแลผู้ป่วย
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ปกครองมีสีหน้าวิตกกังวล
เป้าหมายทางการพยาบาล
ลดความวิตกกังวลและความกลัวของผู้ปกครอง
เกณฑ์ประเมินผล
ผู้ปกครองคลายความวิตกกังวลและความกลัวโดยแสดงออกทางสีหน้าและพฤติกรรมสามารถอธิบายเกี่ยวกับโรคและการดูแลผู้ป่วยได้
กิจกรรมการพยาบาล
1.สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครองและเปิดโอกาสให้ได้ระบายความรู้สึก ความวิตกกังวลและให้กำลังใจ
2.อธิบายความสำคัญและความจำเป็นในการใช้งาน เพื่อให้ผู้ปกครองเข้าใจวัตถุประสงค์ของการใช้งานยอมรับและให้ความร่วมมือสร้างความมั่นใจเกี่ยวกับการรักษาผู้ป่วยโดยให้การดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
3.เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองระบายความรู้สึก อยู่เป็นเพื่อนในระยะแรกให้เกิดความมั่นใจ
4.อธิบายให้ผู้ปกครองเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการรักษาอย่างง่ายๆ และให้โอกาสซักถาม ตลอดจนประสานงานให้พบแพทย์ตามความต้องการ
5.สนับสนุนให้ผู้ปกครองให้อยู่กับเด็กตลอดเวลา และส่งเสริมให้มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กเท่าที่ทำได้ อธิบายถึง วิธีรักษา และแนะนำวิธีการดูแลผู้ป่วยตามความเหมาะสม
การประเมินผล
ผู้ปกครองแสดงสีหน้าคลายกังวลและสามารถอธิบายเกี่ยวกับโรคและการดูแลผู้ป่วยได้และปฏิบัติตามคำแนะนำของพยาบาล
นางสาวธนิตา แสงภักดี
6402101067
เลขที่ 63A