Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ.บริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ.2535 - Coggle Diagram
พรบ.บริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ.2535
ลักษณะ
มาตรา 15
บริษัทมหาชนจำกัด คือ บริษัทที่ตั้งขึ้นด้วยความประสงค์ที่จะเสนอขายหุ้นต่อประชาชน โดยผู้ถือหุ้นมีความรับผิดจำกัด ไม่เกินจำนวนเงินค่าหุ้นที่ต้องชำระ และบริษัทได้ระบุความประสงค์เช่นนั้นไว้ในหนังสือบริคณห์สนธิ
การจัดตั้ง บริษัท มหาชน จำกัด
จดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิ
เสนอขายหุ้น
ผู้เริ่มจัดตั้งต้องจัดทำหนังสือบริคณห์สนธิ
ประชุมจัดตั้งบริษัท
ต้องมีผู้เริ่มจัดตั้งเป็นบุคคลธรรมดาตั้งแต่ 15 คนขึ้นไป
คณะกรรมการดำเนินการจดทะเบียนบริษัท
คณะกรรมการบริษัท
การประชุมคณะกรรมการ
มาตรา 79
อย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง ณ ท้องที่อันเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ หรือจังหวัดใกล้เคียง
อำนาจในการเรียกประชุมกรรมการ
มาตรา 81
ประธานกรรมการเป็นผู้เรียกประชุม หรือคณะกรรมการ 2 คนขึ้นไปร้องขอให้เรียกประชุม ต้องกำหนดวันประชุมภายใน 14 วัน นับแต่วันที่ได้รับการร้องขอ
องค์ประชุมของที่ประชุมกรรมการ
มาตรา 80
ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
การตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ออกก่อนครบวาระ
มาตรา 75
กรณีที่มีกรรมการเหลืออยู่ครบองค์ประชุม ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามเข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคราวถัดไป
มติของคณะกรรมการประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำนวนกรรมการ
มาตรา 83
กรณีที่มีกรรมการเหลืออยู่ไม่ครบองค์ประชุม ให้กรรมการที่เหลืออยู่กระทำการในนามของคณะกรรมการได้แต่เฉพาะการจัดให้มีประชุมผู้ถือหุ้น
กรณีกรรมการพ้นจากตำแหน่ง
มาตรา 72
นอกจากการพ้นตำแหน่งตามวาระ (ม.71) กรรมการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
ลาออก
ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะลักษณะต้องห้าม ม.86
ตาย
ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้ออกตามม.76
มีศาลมีคำสั่งให้ออกด้วย ( ม.85+86 )
กรรมการทำให้เกิดความเสียหายแก่บริษัท
มาตรา 85
ผู้ถือหุ้นรวมการดำเนินการเรียกร้อง
ขอให้ศาลสั่งระงับการกระทำของกรรมการ
บริษัทเรียกค่าสินไหมทดแทนจากกรรมการ
ขอให้ศาลสั่งให้กรรมการคนนั้นออกจากตำแหน่ง
คุณสมบัติของกรรมการ
มาตรา 68
ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ เสมือนคนไร้ความสามารถ
ไม่เคยรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุด
บรรลุนิติภาวะ
ไม่เคยถูกลงโทษไล่ออกหรือปลด ข้อหาทุจริตต่อหน้าที่
มาตรา 69
กำหนดข้อจำกัดใดใดที่มีลักษณะกีดกันมิให้ผู้ถือหุ้นเป็นกรรมการไม่ได้
มาตรา 67
ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด ต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
ความรับผิดร่วมกันของกรรมการ
ต่อบริษัท ต่อผู้ถือหุ้น/บุคคลอื่น
มาตรา 91/92/93/94
กำหนดความรับผิดของกรรมการในความเสียหายที่เกิดแก่บริษัท และข้อยกเว้นความรับผิดชอบ
กำหนดความรับผิดของกรรมการต่อผู้ถือหุ้นและบุคคลอื่น
จำนวนกรรมการ
มาตรา 67
ไม่ต่ำกว่า 5 คน
การจ่ายเงินปันผล
การจ่ายเงินปันผลเป็นหุ้น
มาตรา 117
อาจจ่ายเงินเงินปันผลทั้งหมด หรือบางส่วนเป็นหุ้นสามัญได้ โดยได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น
กำหนดเวลาจ่ายเงินปันผล
มาตรา 115 ว.4
กำหนดจ่ายเงินปันผลภายใน 1 เดือน นับแต่วันที่ประชุมผู้ถือหุ้น
ทุนของบริษัท (หุ้น) และผู้ถือหุ้น
การแปลงหุ้นบุริมสิทธิเป็นหุ้นสามัญ
มาตรา 65 ว.2
ทำได้ ถ้าบริษัทมีข้อบังคับกำหนดไว้
การกำหนดข้อจำกัดการโอนหุ้น
มาตรา 57
กำหนดข้อจำกัดการโอนหุ้นไม่ได้เว้นแต่
เพื่อรักษาสิทธิ์และผลประโยชน์
เพื่อเป็นการรักษาอัตราส่วนการถือหุ้นของคนไทยกับคนต่างด้าว
ชนิดของใบหุ้น
มาตรา 56
มีแต่ใบหุ้นชนิดระบุชื่อเท่านั้น
วิธีการโอนหุ้น
มาตรา 58
ทำโดยวิธีสลักหลังใบหุ้น
ลงลายมือชื่อผู้โอนและผู้รับโอน
และส่งมอบใบหุ้นแก่ผู้รับโอน
ระบุชื่อผู้รับโอน
การชำระค่าหุ้นด้วยการหักหนี้กับบริษัท
มาตรา 54/1
มีข้อยกเว้นให้ทำได้
การอ้างสิทธิ์ในความเป็นผู้ถือหุ้น
มาตรา 58
การอ้างสิทธิ์กับบริษัท
เมื่อบริษัทได้รับคำร้องให้ลงทะเบียนการโอนหุ้นกับบุคคลภายนอก
เมื่อบริษัทได้ลงทะเบียนการโอนหุ้นแล้ว
การใช้เงินค่าหุ้น
มาตรา 54
ต้องใช้เป็นเงินครั้งเดียวจนเต็มมูลค่า
ระยะเวลาที่บริษัทต้องลงทะเบียนการโอนหุ้น
มาตรา 58
กรณีโอนหุ้นปกติ ภายใน 14 วันนับแต่วันได้รับหลักฐานครบถ้วน
มาตรา 59
กรณีผู้ถือหุ้นตาย หรือล้มละลาย ภายใน 1 เดือน นับแต่วันได้รับหลักฐานครบถ้วน
การขายหุ้น
ขายหุ้นต่ำกว่ามูลค่าที่จดทะเบียน
มาตรา 52
ทำได้ ถ้าปรากฏว่าบริษัทดำเนินการมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปีและมีผลงานขาดทุน แต่ต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุม
การห้ามบริษัทเป็นเจ้าของถือหุ้นของตนเอง
มาตรา 66/1
มีกรณีที่บริษัทอาจซื้อหุ้นคืนมาได้ 2 กรณี
มูลค่าหุ้น
หุ้น : มูลค่าหุ้นที่จดทะเบียน
มาตรา 50
คุณต้องมีมูลค่าเท่ากันมิได้กำหนดหุ้นขั้นต่ำไว้
การประชุมผู้ถือหุ้น
ประเภทของมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น
มาตรา 107
กำหนดเรื่องสำคัญให้ต้องการใช้ในการลงมติ ใช้คะแนนไม่น้อยกว่า 3/4 ขอจำนวนเสียงทั้งหมด
การนับคะแนนเสียง
มาตรา 33 ว.4 102
1 หุ้นต่อ 1 เสียง เว้นแต่เป็นหุ้นบุริมสิทธิ ที่กำหนดสิทธิ์ออกเสียงลงคะแนนน้อยกว่าหุ้นสามัญ
องค์ประชุมที่ประชุมผู้ถือหุ้น
มาตรา 103
จำนวนคนไม่น้อยกว่า 25 คน ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง นับจำนวนจำนวนหุ้นรวมกันได้ไม่น้อยกว่า 1/3
การขอให้ศาลเพิกถอนมติ
มาตรา 108
ผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 5 คน มีจำนวนหุ้นรวมกันได้ไม่น้อยกว่า 1/5
การบอกกล่าวนัดประชุม
มาตรา 101
ทำเป็นหนังสือนัดประชุมส่งผู้ถือหุ้นและนายทะเบียน และประกาศในหนังสือพิมพ์ไม่น้อยกว่า 3 วัน
การเปิดเผยข้อมูล
มาตรา 114
รายงานประจำปีต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องต่างๆตามที่กำหนด
มาตรา 88
ต้องแจ้งต่อบริษัทเมื่อมีกรณีเกี่ยวกับกรรมการมีส่วนได้เสียในสัญญา
มาตรา 113
เสนอรายงานประจำปีการประชุมสามัญประจำปี
มาตรา 94
กรรมการต้องร่วมรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดแก่ผู้ถือหุ้น
การประชุมสามัญ/วิสามัญ
มาตรา 99
คณะกรรมการเรียกเมื่อใดก็ได้ไม่ได้กำหนดว่าต้องมีเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง
มาตรา 100
ผู้ถือหุ้นขอให้คณะกรรมการเรียกประชุมได้เมื่อเข้ากรณีกรณีหนึ่งกรณีใดต่อไปนี้
มีหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่า 1/5 ที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมด
ผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 25 คน ได้ไม่น้อยกว่า 1/10
มาตรา 98
ประจำปีภายใน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดของรอบปีบัญชีของบริษัท
การคุ้มครองผู้ถือหุ้น
ผู้ถือหุ้นคัดค้านการควบบริษัท
มาตรา 146
ต้องจัดให้มีผู้ซื้อหุ้นที่คัดค้านการควบบริษัทในราคาที่เป็นธรรม
ร้องขอให้ศาลสั่งระงับการกระทำของกรรมการที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่บริษัท
มาตรา 85(2)
ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งหรือหลายคน ถือหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่า 5% มีสิทธิ์ขอให้ศาลสั่งระงับการกระทำได้
ผู้ถือหุ้นคัดค้านการแก้ไขข้อบังคับเกี่ยวกับสิทธิ์การออกเสียง/สิทธิ์รับเงินปันผล
มาตรา 66/1
บริษัทอาจซื้อหุ้นคืนจากผู้ถือหุ้นที่คัดค้าน
การเลือกกรรมการด้วยวิธีการลงคะแนนแบบสะสม
มาตรา 70
ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจำนวนหุ้นที่ตนถือคูณด้วยจำนวนกรรมการที่จะเลือกตั้ง
ผู้ถือหุ้นอาจใช้คะแนนเสียงของตนที่มีมีอยู่ เลือกบุคคลเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการได้ จะแบ่งคะแนนให้แก่ผู้ใดมากน้อยเท่าใดก็ได้
การกีดกันมิให้ผู้ถือหุ้นเป็นกรรมการ
มาตรา 69
กำหนดข้อจำกัด มิให้ผู้ถือหุ้นเป็นกรรมการไม่ได้
โทษทางอาญา-การกำหนดโทษทางอาญา
มาตรา 191-222/1
มีบทกำหนดลงโทษทางอาญาไว้เป็นพิเศษ เพื่อลงโทษบริษัท คณะกรรมการ หรือบุคคลบุคคลใดที่กระทำการฝ่าฝืน
มีบทบัญญัติให้มีการเปรียบเทียบปรับได้
ทุนสำรอง
บัญชีเงินทุนสำรอง
มาตรา 51
ต้องแยกบัญชีทุนสำรองแต่ละประเภทออกจากกัน
การโอนเงินสำรอง
มาตรา 119
บริษัทอาจโอนเงินสำรอง เพื่อชดเชยขาดทุนสะสมก็ได้
การชดเชยผลขาดทุนสะสมนั้นให้หักจากเงินสำรองอื่นก่อนแล้วจึงหักจากทุนสำรองตามมาตรา 116 และ 51 ตามลำดับ
ที่มาของเงินทุนสำรอง
มาตรา 51
เงินทุนสำรองส่วนล้ำมูลค่า บริษัทเสนอขายหุ้นสูงกว่ามูลค่าหุ้น ให้นำค่าหุ้นส่วนที่เกินตั้งเป็นทุนสำรอง
มาตรา 116
เงินทุนสำรองจากกำไร บริษัทจัดสรรกำไรสุทธิไม่น้อยกว่า 5% หักด้วยยอดขายสะสมจนกว่าทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไม่น้อยกว่า 10%
เงินสำรองอื่น บริษัทอาจกำหนดให้มีเงินสำรองประเภทอื่นก็ได้
ผู้สอบบัญชี-หน้าที่ของผู้สอบบัญชี
มาตรา 125
มีหน้าที่เข้าประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้งที่มีการพิจารณางบดุล บัญชีกำไรขาดทุน หรือปัญหาเกี่ยวกับบัญชีของบริษัท
การเพิ่มทุน-การลดทุน
การเพิ่มทุน
เงื่อนไขการเพิ่มทุน
มาตรา 136
เมื่อหุ้นได้ออกจำหน่ายแล้วทั้งหมดและได้รับชำระเงินค่าหุ้นครบถ้วนแล้ว
ผู้ถือหุ้นลงมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3/4 ซึ่งมาประชุมและมีสิทธิ์ออกเสียง
การเสนอขายหุ้นเพิ่มทุน
มาตรา 137
เสนอขายผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนที่ถือ
เสนอขายแก่ประชาชนหรือบุคคลอื่นอื่นไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้
การลดทุน
เงื่อนไขการลดทุน
มาตรา 139
ทำได้เมื่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3/4
มาตรา 139 ว.2
กรณีที่บริษัทขาดทุนสะสม และมีการชดเชยขาดทุนสะสมอาจลดทุนได้เหลือต่ำกว่า 1/4 ของทุนทั้งหมดก็ได้
การเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ถือหุ้น
มาตรา 113 114 88
มีการกำหนดให้ต้องรายงานหรือแจ้งข้อมูลต่อผู้ถือหุ้นหลายประการ