Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคไข้มาลาเรีย Malaria - Coggle Diagram
โรคไข้มาลาเรีย Malaria
การพยาบาล
-
ผู้ป่วยจะได้รับการนัดตรวจเลือดซ้ำ 4 ครั้ง ซึ่งต้องกลับไปตรวจตามนัดทุกครั้ง เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีเชื้อมาลาเรียในร่างกายแล้ว
-
พยาธิสภาพ
เชื้อมาลาเรียในเม็ดเลือดแดงถูกพัดพาไปตามหลอดเลือดต่างๆ ในร่างกายจนถึงระดับเส้นเลือดฝอยของอวัยวะต่างๆ
เม็ดเลือดแดง เหล่านี้มีคุณสมบัติเกาะติดผนังหลอดเลือดได้ง่าย
ทำให้เลือดเกิดความหนืดมากขึ้น เมื่อไหล่ผ่านเส้นเลือดฝอย
ขณะเดียวกัน ส่วนประกอบการแข็งตัว ของเลือด มีความผิดปกติ ไปด้วย จากการเปลี่ยนแปลง ทั้งในส่วนของ เม็ดเลือดแดงเอง
ในส่วนพลาสม่าของเลือด รวมทั้งการเกิดก้อนตะกอนไฟบริน (fibrin thrombi) ในหลอดเลือดขนาดเล็กโดยเฉพาะที่ สมอง ปอด หัวใจ ตับ และไต เป็นต้น
ทำให้เซลล์ของอวัยวะต่างๆในร่างกาย ขาดออกซิเจนมากน้อยเท่าไร
ขึ้นกับชนิดของอวัยวะและสภาวะทางร่างกายของผู้ป่วย ขณะนั้นอวัยวะที่ สำคัญเหล่านี้ ได้แก่ สมอง ตับ ม้าม และปอด เกิด focal necrosis ได้
สาเหตุ
-
-
-
ยุงก้นปล่องสปีชีส์ที่พบว่านำโรคไข้มาลาเรียในประเทศไทย ได้แก่ Anopheles dirus, An.minimus, An. maculatus, An. epiroticus, An. aconitu
อาการและอาการแสดง
เริ่มแรกของมาลาเรียไม่จำเพาะ จะเป็นอาการคล้ายไข้หวัด เช่น มีไข้ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว ไอ แต่สักระยะหนึ่งที่เชื้อแต่ละตัวแบ่งตัวสอดคล้องกันดีแล้ว ผู้ป่วยจะมีไข้เป็นช่วงระยะอย่างสม่ำเสมอ แต่ละช่วงเรียกว่าแพร็อกซิซึม (paroxysm) ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่:
-
-
(3) ระยะออกเหงื่อ: กินเวลานาน 1-2 ชั่วโมง จากนั้นอุณหภูมิร่างกายปกติ เป็นช่วงปราศจากไข้ (apyrexia) จากนี้แล้ว paroxysm เกิดใหม่ เป็นเช่นนี้เรื่อยไป
การวินิจฉัย
- เจาะเลือดเพื่อแยกชนิดเชื้อมาลาเรีย
- ประเมินอาการอย่างใกล้ชิดและให้ยารักษาตามชนิดของเชื้อ
- หากมีไข้สูงหลังจากกลับพื้นที่เสี่ยงให้รีบพบแพทย์
-