Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดทางการพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะเปราะบางในผู้สูงอายุ,…
การบำบัดทางการพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะเปราะบางในผู้สูงอายุ
บทบาทพยาบาล
เป็นผู้นำทีม
ส่งเสริม
ป้องกัน
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ปรับเปลี่ยนสิ่งเเวดล้อม
คัดกรองภาวะเเปราะบาง
จากลักษณะที่พบบ่อย 5 ข้อ หากพบ 1-2 อาการจะระบุว่ามีตวามเสี่ยงต่อภาวะเปราะบาง
ทำการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงื คือ ผู้ที่ือายุ 70 ปีขึ้นไป
FRAIL scale
International Conference on Frailty and Sarcopenia Research
(2011 - ปัจจุบัน)
ภาวะเปราะบางใน ผู้สูงอายุเป็นภาวะพลวัตที่สามารถกลับมาเป็นปกติได้
ปัจจัยที่เกีี่ยวข้อง
จิตใจและการรับรู้
ซึึมเศร้า สมองเสื่อม
การพยาบาล
จัดกิจกรรม กระตุ้นความคิดความจำ
การคัดกรอง
2 Q
แบบคัดกรองสมรรถนะความจำ
บุคคล
อายุ เพศ ระดับการศึกษา อาชีพ สถานะสมรส รายได้ ดัชนีมวลกาย
สังคมและสิ่งแวดล้อม
การอยู่อาศัยในปัจจุบัน
การมีผู้ดูแลเมื่อเจ็บป่วย
จำนวนสมาชิกในครอบครัว
ลักษณะครอบครัว
ด้านกายภาพ
ภาวะโภชนาการ
การพยาบาล
ตรวจสุขภาพช่องปาก
ในคำแนะนำเรื่องการเลือกรับประทานอาหาร
ส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
การเลือกอาหารที่ควรบริโภคและควรหลีกเลี่ยง
2.ความถี่ในการรับประทานอาหารที่เหมาะสม
3.ปริมาณอาหารที่รับประทาน
4.ลักษณะอาหารที่บริโภคมีความเหมาะสม
ระยะเวลา
3 สัปดาห์
การคัดกรอง
MNA
การรับรู้สุขภาพ การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
การทำหน้าที่
กิจกรรมทางกาย
การพยาบาล
ต้องมีการทำขยับด้วยตนเอง
ส่งเสริมพฤติกรรมการออกกำลังกาย
ประโยชน์
ร่างกายแข็งแรงขึ้น
ป้องกันการหกล้ม
ระยะเวลา
3 สัปดาห์
การคัดกรอง
ADL
ภาวะเปราะบาง
เป็นภาวะที่พลังงานความสามารถทางกายภาพ การรับรู้และสุขภาพลดลงก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงและเป็นภาวะที่มีการลดลงทางกายภาพ
ลักษณะเฉพาะที่พบบ่อย
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ความเหนื้อยล้า
เดินช้า
น้ำหนักตัวลด
กิจกรรมทางกายต่ำ