Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรงพยาบาลเเม่ออน - Coggle Diagram
โรงพยาบาลเเม่ออน
แบบติดตามผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน 10 ด้าน
(ประเมินทุก 1 เดือน)
ด้านอาการทางจิต
ด้านการกินยา
ด้าน ผู้ดูแล/ญาติ
ด้านการกิจวัตรประจาวัน
ด้านการประกอบอาชีพ
ด้านสัมพันธภาพในครอบครัว
ด้านสิ่งแวดล้อม
8.ด้านการสื่อสาร
9.ด้านความสามารถในการเรียนรู้เบื้องต้น
10.ด้านการใช้สารเสพติด (บุหรี่/สุรา/ยาเสพติด)
ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า หรือ MDD
(Major Depressive Disorder)
นางจันทร์สอน เสนน้อย อายุ 53 ปี
ป็นผู้ป่วยโรคซึมเศร้า 15-20 ปี
สาเหตุ เริ่มต้นจากที่หย่าร้างกับสามี จากการพูดคุยกับผู้ป่วย ได้บอกเล่าถึงอาการที่เกิดขึ้น ได้แก่ ชอบอยู่คนเดียว การควบคุมความคิดของตนเองไม่ได้ คิดฆ่าตัวตาย นอนไม่หลับ
แรงจูงใจที่อยากมีชีวิตอยู่ คือ หลาน
รักษาด้วยการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ
ผู้ป่วยต้องรับประทานยาต่อเนื่อง เนื่องจากผู้ป่วยยังมีอาการซึมเศร้า ยังมีปัจจัยที่ ทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการเศร้า ได้แก่ ลูก และสามี
เคยมีอาการหูแว่ว ปัจจุบันปฏิเสธอาการทางจิต ปฏิเสธการคิด ฆ่าตัวตาย
ผู้ป่วยโรคจิตเภท (Schizophrenia)
น.ส อำไพพร นันชัย อายุ 44 ปี
รับยาต่อเนื่อง
ปัจจุบันมีอาการที่คงที่ สามารถใช้ชีวิตได้เหมือนคนปกติทุกประการ
ผู้ป่วยเล่าว่า เมื่อก่อนตนมีอาการของโรคจิตเภท ดังนี้ รู้สึกว่าไม่ เป็นตัวเอง หลงผิด กลางคืนนอนไม่หลับ พูดคนเดียว เมื่อก่อนอยู่กับสามี แต่พอป่วยสามีไม่ดูแล หย่าร้างกับ สามี ตัดสินใจกลับมาอยู่บ้าน
ปัจจุบันมีแม่คอยดูแล จัดยาให้
ผู้ป่วยบอกว่าสิ่งกระตุ้นที่ทำให้อาการกาเริบนั้น ได้แก่การดูสื่อต่าง ๆ จากโทรทัศน์ ทำให้เกิดอาการ delusion เพื่อแก้ไขปัญหานี้จึงมีการลดสิ่งกระตุ้นโดยการไม่ดูโทรทัศน์หรือสื่อบันเทิงทุกชนิด
เคยรับการรักษาด้วยไฟฟ้า หลังจากการรับการรักษาด้วยไฟฟ้าอาการดีขึ้นมาก
อัตรากำลัง
เเพทย์ 2 คน
พยาบาลจิตเวช 2 คน
เภสัช 2 คน
นักจิตวิทยา 1 คน
นักกิจกรรมบำบัด 1คน
นักวิชาการสาธารณสุข 1 คน
การสร้างความสุข 5มิติ
สุขสบาย
สุขสง่า
สุขสว่าง
สุขสงบ
สุขสนุก
การดำเนินงานในแผนกผู้ป่วยนอก OPD
1.การให้คำปรึกษาสุขภาพจิตศึกษา
2.การรักษาตามเเนวทางเวชปฏิบัติ เช่น การรักษาโรคซึมเศร้า การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาจากการดื่มสุรา
3.การป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
4.การฟื้นฟูสภาพ
โรงพยาบาลแม่ออน ได้มีการพัฒนางานป้องกันสารเสพติด พัฒนาวิชาการให้ภาคีเครือข่าย มีการทำMOU แก้ไขปัญหายาเสพติด
มีกระบวนการคัดกรอง
การบำบัดสารเสพติด
และการเฝ้าระวัง/ติดตามในชุมชน
เเบบประเมินที่สำคัญในผู้ป่วยจิตเวชชุมชน
แบบประเมินคัดกรองผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูง
ต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V)
SMIV Scan ดังนี้ ไม่หลับไม่นอน เดินไปเดินมา หงุดหงิดฉุนเฉียว เที่ยว หวาดระแวง เมื่อพบผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งเหล่านี้ต้องรีบออกห่างและเฝ้าระวังเป็นพิเศษ
แบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง(OvertAggressionScale)
เเผนกผู้ป่วยใน IPD
การรักษาตามสภาพอาการ
การคัดกรองการดื่มสุรา เเละการคัดกรองอื่นๆ
คลีนิกกัญชาบำบัด
ซึ่งให้คำแนะนำสำหรับประชาชนทั่วไปและผู้ป่วยที่มีการรักษาแบบ ประคับประคอง (Palliative care)
มีการทดสอบด้วย THC one step marijuana test strip (Urine)
เป็นโรงพยาบาลทุติยภูมิ มีเตียงรองรับผู้ป่วยทั้งหมด 30 เตียง