Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปเนื้อหาวิชาวิชาวิธีวิทยาการถ่ายทอดความรู้ - Coggle Diagram
สรุปเนื้อหาวิชาวิชาวิธีวิทยาการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการถ่ายทอดความรู้
ความรู้คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียนค้นคว้าหรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทั้งทักษะความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์
การจัดความรู้ คือ การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาจากระบบจากข้อมูล ไปสู่ สารสนเทศ
หลักสำคัญของการจัดการเรียนรู้คือ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจาก Tacit Knowledge เป็น Explcit Knowledge
หัวใจสำคัญของการเรียนรู้
เน้นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้แบบฝังลึก แบบเต็มใจไม่ใช่บังคับ
การจัดการเรียนรู้และองค์การแห่งการเรียนรู้เป็นสิ่งที่แยกกันไม่ออก ต้องทำไปด้วยกัน
เน้นกระตุ้นให้มีการถ่ายทอดความรู้อย่างเป็นธรรมชาติแทนที่จะยัดเยียดรูปแบบที่คิดขึ้นอย่างมีเหตุผลเข้าไปในตัวมนุษย์
การถ่ายทอดความรู้
knowlendge transfer คือขั้นตอนหนึ่งของ knowledge mamagement เป็นการเรียนกระบวนการแบ่งปันความรู้ถูกถ่ายทอดจากคนหนึ่ง ไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง
แนวคิดการสร้างและถ่ายทอดความรู้
Socialization
Externalization
Combination
Internalization
ความรู้พื้นฐานทักษะในศตวรรษที่ 21
ความหมายของ ศตวรรษที่ 21
ช่วงเวลาระหว่าง ค.ศ.2001-ค.ศ2100
หมายถึงทักษะ ความรู้ และความสามารถ ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้สามารถเตรียมตัวสำหรับความท้าทายในการทำงาน
พื้นฐานความรู้ ทักษะ แห่งศตวรรษที่ 21
ความรู้เกี่ยวกับโลก
ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการประกอบการ
ความรู้ด้านเป็นพลเมือง
ความรู้ด้านสุขภาพ
ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม
บทที่ 2 รูปแบบและเทคนิคที่ทันสมัยในการถ่ายทอดความรู้
การสืบค้นสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการในการค้นหาสารสนเทศที่ต้องการ โดยใช้เครื่องมือสืบค้นรูปแบบต่างๆ แบ่งเป็น 2 วิธี
การสืบค้นสารสนเทศด้วยระบบมือ
การสืบค้นสารสนเทศด้วยระบบคอมพิวเตอร์
การสืบค้นข้อมูลเป็นวิธีการให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่เราต้องการ ซึ่งในปัจจุบันมีแหล่งสารสนเทศมากมายที่จัดเก็บข้อมูลไว้ ท าอย่างไรเราจึงจะได้สารสนเทศเหล่านั้นมาใช้งาน
การประเมินข้อมูลสารสนเทศที่สืบค้นได้
การประเมินข้อมูลสารสนเทศที่สืบค้นได้นั้น เป็นขั้นตอนในการประเมินเพื่อคัดเลือกสารสนเทศที่เราได้จากการสืบค้นที่มีคุณค่า มีความน่าเชื่อถือในทางวิชาการ เป็นการพิจารณาคัดเลือกจากแหล่งสารสนเทศต่างๆ
ประเมินระดับเนื้อหาของสารสนเทศ ซึ่งระดับเนื้อหาสารสนเทศมี 3 ระดับ
สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Information) มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด เนื่องจากเป็นสารสนเทศที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าโดยตรงของผู้เขียนและตีพิมพ์ เผยแพร่เป็นครั้งแรก
สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Information) เป็น การน าสารสนเทศปฐมภูมิมาเขียนใหม่อธิบาย เรียบเรียง วิจารณ์ใหม่ให้เข้าใจง่ายเพื่อให้เหมาะกับผู้ใช้สารสนเทศ
สารสนเทศตติยภูมิ (Tertiary Information) เป็นการชี้แนะแหล่งสารสนเทศ 2 ระดับ แรก ที่ไม่ได้ให้เนื้อหาสารสนเทศโดยตรงแต่เป็นการชี้แนะแหล่งสารสนเทศปฐมภูมิและ ทุติยภูมิ เช่น บรรณานุกรมดรรชนีวารสารและวารสารสาระสังเขป
2.ทักษะกระบวนการในศตวรรษที่21
ที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดความรู้
การสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
เป็นแนวทางจัดการเรียนการสอนแบบใหม่ที่มีแนวคิดมาจากการที่ผู้เรียนบางส่วนในห้องเรียนถูก
ดึงไปท ากิจกรรมอื่นๆ ท าให้ไม่สามารถเข้าห้องเรียนได้ครบถ้วน
การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน
คือ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ โดยใช้โครงสร้างหลักของการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐานซึ่งพัฒนามาจากโครงสร้างการเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
การสอนแบบโครงการเป็นฐาน
คือ การจัดการสอนที่จัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้เรียนเหมือนกับการท างานในชีวิต
จริงอย่างมีระบบ
การสอนแบบห้องเรียนอัจฉริยะ
S : Showing มิติของความสามารถในการน าเสนอข้อมูลสารสนเทศ
M : Manageable มิติด้านความสามารถในเชิงบริหารจัดการ
A : Accessible มิติด้านความสามารถในการเข้าถึงแหล่งข้อมูลทางการเรียนรู้
R : Real-time Interactive มิติในเชิงปฏิสัมพันธ์ในการสร้างประสบการณ์ทางการเรียนการสอน
T : Testing มิติด้านการทดสอบ
การใช้เครื่องมือในการถ่ายทอดองค์ความรู้
แบบออฟไลน์ (Off line) และออนไลน์(Online)
ความหมายของการถ่ายทอดองค์ความรู้
การถ่ายทอดองค์ความรู้คือขั้นตอนหนึ่งของ knowledge management เป็นการเรียกกระบวนการแบ่งปันความรู้ที่ถูกถ่ายทอดจากคนหนึ่ง ไปยังอีกคน กลุ่มหนึ่งไปยังอีกกลุ่ม หรือจะเป็นจากองค์กรหนึ่งไปยังอีกองค์กรหนึ่ง กล่าวคือเป็นการถ่ายทอดความรู้จากผู้รู้ไปยังผู้ที่ต้องการความรู้ หรือการได้มาซึ่งความรู้ของผู้ที่
บทที่ 3ศิลปะในการสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้
แรงจูงใจ (Motive) หมายถึงแรงผลักดันเพื่อให้คนเกิดพฤติกรรมขึ้น สามารถกำหนดรูปแบบการดำเนินชีวิต
แรงขับ หรือพลังในการขับเคลื่อน คือสิ่งที่ทำให้ผู้ฟังเกิดการทำงาน ความฮึกเหิม
ความพยายามที่จะทำให้สำเร็จ คือความมานะอดทน บากบั่น คิดหาวิธีการนำความรู้ความสามารถและประสบการณ์มาใช้เป็นประโยชน์มากที่สุด นอกจากนี้ยังรวมถึงการ
การสร้างแรงจูงใจจากภายใน
การกระตุ้นสร้างโดยอาศัยสิ่งผลักดันภายในบุคคล ที่อาจมาจากเจตคติ ความสนใจ การพึงพอใจ หรือความต้องการ มองเห็น
เป็นลักษณะของแรงจูงใจแบบถาวรหรือระยะเวลานาน เพราะมักจะเล็งเห็นผลที่มีต่อความมั่นคง ความเจริญก้าวหน้า เช่นมุมมองต่องานประจำของตนเอง
การสร้างแรงจูงใจจากภายนอก (Extrinsic motives)
แรงจูงใจภายนอก หมายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นหรือปัจจัยจากภายนอกที่ส่งผลถึงพฤติกรรม หรือวิถีการ
ทำงานและดำเนินชีวิต
เป็นแรงผลักดันที่ก่อให้เกิดการทำการบางอย่าง เช่นการได้รับรางวัล
บทที่ 4การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้
ความหมายของสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งแวดล้อมทั้งกายภาพและไม่ใช่กายภาพในสถานศึกษา และในห้องเรียน ซึ่งหมายรวมถึงเงื่อนไขสถานการณ์ หรือสภาพการที่มีผลต่อการเรียนรู้
สภาพแวดล้อม หมายถึง สภาพสภาวะหรือสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบๆ ที่มีอยู่ตามธรรมชาติหรืออาจเป็นสิ่งที่ถูกจัดทำสร้างขึ้น อาจเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต
วิธีการเรียนของผู้เรียนแต่ละคนที่ได้รับการยอมรับ รวมทั้งวิธีการแก้ปัญหาการสร้างสรรค์และการเรียนอย่างลึกซึ้งการสร้างนิสัยในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์โดยผ่านกระบวนการสอน
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment) มีความหมายว่า สิ่งต่างๆ สภาวะแวดล้อมที่อยู่รอบๆ ตัวผู้เรียนทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมส่งผลต่อผู้เรียนทั้งทางบวกและทางลบ และมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
องค์ประกอบการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร หรือผู้เข้ารหัส (sender / encoder) เป็นแหล่งกำเนิดข่าวสาร หรือเป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูล มีหน้าที่เตรียม/สร้างข้อมูลข่าวสาร อาจเป็นบุคคล หรือเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ถ่ายทอดข่าวสาร/ส่งข้อมูล
ผู้รับสาร หรือ ผู้ถอดรหัส (receiver / decoder) เป็นปลายทางการสื่อสาร หรืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับรับข่าวสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์
ผู้รับสาร หรือ ผู้ถอดรหัส (receiver/ decoder) เป็นปลายทางการสื่อสาร หรืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับรับสาร (message) เป็นข้อมูลหรือสารสนเทศต่างๆ ที่อาจเป็นได้ทั้งข้อความ ตัวเลข รูปภาพ เสียง และวิดีโอ
การจำแนกประเภทผู้รับสาร
ประเภทของผู้รับสารจำแนกตามลักษณะของการสื่อสารซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ลักษณะได้แก่ ผู้รับสารในการสื่อสารระหว่างบุคคล ผู้รับสารในการสื่อสารกลุ่มเล็ก ผู้รับสารในการสื่อสารสาธารณชน และผู้รับสารในการสื่อสารมวลชน
ประเภทผู้รับสารจำแนกตามผลกระทบของการสื่อสาร จำแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ ผู้รับสารที่เป็นผู้ถูกกระทำและผู้รับสารเป็นผู้กระทำ
บทที่ 5เรื่องการออกแบบและสร้างสื่อและนวัตกรรม
เพื่อใช้ในการถ่ายทอดความรู้
สื่อ (กริยา) หมายถึง ติดต่อให้ถึงกัน เช่น สื่อความหมาย, ชักนำให้รู้จัก
สื่อ (นาม) หมายถึง ผู้หรือสิ่งที่ติดต่อให้ถึงกันหรือชักนำให้รู้จักกัน
สื่อการเรียนรู้ หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัวผู้เรียนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เน้นสื่อที่ใช้สำหรับการศึกษา
นวัตกรรม หมายถึง สิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นจากการใช้ความรู้ทักษะประสบการณ์ และความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาขึ้น
นวัตกรรมมีความสำคัญต่อการศึกษาหลายประการ ทั้งนี้เนื่องจากในโลกยุคโลกาภิวัฒน์โลกมีการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งความก้าวหน้าทั้งด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ
บทที่ 6 การบูรณาการองค์ความรู้สู่การ
ถ่ายทอดความรู้
ข้อมูลดิบ คือ ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การวัด การทดลอง และอื่นๆ โดยตรง ซึ่งบันทึก
ไว้อย่างไม่เป็นระบบ และยังไม่ได้เปลี่ยนแปลงให้อยู่ในรูปที่เข้าใจได้ดีขึ้น จัดเป็นข้อมูลดิบ
ข้อมูลที่จัดกระทำ คือ ข้อมูลที่ผ่านการจัดรูปแบบ โดยเปลี่ยนแปลงหรือจัดทำให้อยู่ในรูปที่เข้าใจได้
ดีขึ้น ซึ่งสามารถใช้วิธีการ เช่น การแจกแจงความถี่ การใช้กราฟ รูปภาพแทนความหมาย