Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
MSE : amental status examination, นางสาวชาลินีย์ ศรีระอุดม…
MSE : amental status examination
อารมณ์(Mood/Affect)
อารมณ์พื้นฐาน(Mood) หมายถึง สภาวะอารมณ์พื้นฐานของผู้ป่วยและอารมณ์โดยรวมที่มีอยู่ในช่วงที่ผ่านมา ดังนั้นจะได้จากการซักถามผู้ป่วย(Subjective)
อารมณ์ที่แสดงออกหรือภาวะอารมณ์ปัจจุบัน(Affect) แววตา น้ำเสียง ท่าทาง การพูดคุย (Objective)
ลักษณะทั่วไปที่ปรากฎ (general appearance)
การตอบสนองกับผู้สัมภาษณ์ บ่งบอกถึงความร่วมมือในการสัมภาษณ์ โดยสามารถสังเกตจากสิงทีแสดงออก เช่น ท่านั่ง อาจมีการเกร็งในคนทีวิตกกังวล
ลักษณะทางร่างกาย บ่งบอกโรคประจำตัวในอดีต อุบัติเหตุ เช่น เห็นแผลผ่าตัดรอยแผลเป็น
การแต่งกาย บ่งบอกถึงบุคลิกภาพเดิมและการดูแลตนเองได้เบื้องต้น
การเคลื่อนไหว ขยับช้าลงหรือเร็วขึ้น
เนื้อหาความคิด (thought/thinking)
2) ความคิด(Content of thought)
ความคิดหลงผิด(Delusion)
อาการกลัว (Phobia)
อาการยำคิด และ อาการยำทำ (Obsession and compulsion)
หวาดระแวง (Paranoid)
ความคิดฆ่าตัวตาย (Suicidal thought)
ความต้องการทำร้ายผู้อื่น (Homicidal though)
สมาธิและความตั้งใจ(Attention and Concentration)
Attention นับเลข (digit span), การนับเลขไปข้างหน้า (digit span- forward) การนับย้อนหลัง (digit span- backward) การลบเลขทีละ 7 หรือทีละ 3 (serial 7's or serial 3's)
Concentration บอกให้ลบเลขในใจ เอา 100 ตัง, ลบออกทีละ 7 ได้คำตอบให้บอกลบไปเรือยๆ :100-7,100-3, 20-3 อาจให้เอา 20 ตัง ลบออกไปทีละ 3
ความรอบรู้ทั่วไปเชาว์ปัญญาและลักษณะความคิด (Genearal knowledge and lntellectual function/Abstrac thinking)
การรับรู้วัน เวลา สถานที่และบุคคล (orientation)
ความจำระยะสั้น(recall) , ความจำปัจจุบัน(recent) , และความจำระยะยาว(remote)
การตัดสินใจ(Judgment)
การสัมภาษณ์ทางจิตเวช/การตรวจสอบสภาพจิต(MSE)
การหยั่งรู้ตนเองและรู้จักตนเอง(Insight)
1) รูปแบบความคิด/กระแสความคิด (Form of thought/Stream of thought) เป็นความผิดปกติของกระแส หรือกระบวนการคิด
โดยเราสังเกตจากการพูด การโต้ตอบ รวมถึงการเล่าเรื่องราวต่างๆของเขา
คิดเร็ว (Rapid) คิดช้า (Slow) ลังเล (Hesitant) หยุดชะงัก (Blocking
ความหมาย
การตรวจสภาพการทํางานของจิตใจของผู้ป่วย
ทําการตรวจแล้วบันทึกอาการแสดงต่างๆ และสะท้อนการทำงานของจิตใจหลายด้าน เช่น ความคิด ความจำ
อาการทีเกียวกับการรับรู้(Perception) ที 6
ผิดปกติมี 2 ประเภท
ประสาทลวง/การแปลสิ่งเร้าผิด (Illusions) หมายถึงการทีผู้ป่วยแปลความหมายของประสาทรับรู้เมื่อมีสิงกระตุ้นต่างๆผิดไป โดยมักเกียวกับความรู้สึกทางร่างกาย การได้ยินการมองเห็นรับรู้เมื่อมีสิงกระตุ้นต่างๆ ผิดไปโดยมักเกียวกับความรู้สึกทางร่ากาย การได้ยินการมองเห็น การรับกลิ่นและการรับรส
Hallucination : หลอน
ประสาทหลอนทางหู หรือแว่ว(auditory hallucination
ประสาทหลอนทางตาหรือภาพหลอน (Visual hallucination)
ประสาทหลอนทางการรับรู้(gustatory hallucinatio)
ประสาทหลอนทางการได้กลิ่น (olfactory
hallucinati)
ประสาทหลอนทางการสัมผัส (tactile hallucinat)
Illusions : หลงผิด
นางสาวชาลินีย์ ศรีระอุดม รหัสนักศึกษา64170019