Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบเศรษฐกิจ (Economic System) - Coggle Diagram
ระบบเศรษฐกิจ (Economic System)
ระเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจแบบ ทุนนิยม (Capitalism)
-มีรากฐานมาจากแนนวคิด "เสรี"
-ราคาของสินค้าเป็นไปตามกลไกราคาหรือกลไกตลาด
-เอกชนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตที่หาได้
ลักษณะสำคัญ
ข้อดี
-เอกชนมีเสรีภาพในการผลิตสินค้าและบริการ
-การจัดสรรทัพยากรเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อเสีย
เกิดความเลื่อมล้ำในสังคมโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจสูง
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism)
ข้อดี
-ความเลื่อมล้ำในสังคมโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจน้อย
-ประชาชนได้รับสวัสดิการจากรัฐอย่างเท่าเทียม
ลักษณะสำคัญ
-เรียกอีกแบบว่า เศรษฐกิจแบบวางแผนจากส่วนกลาง
-กิจกรรมทางเศรษฐต้องเป็นไปตามรัฐกำหนดขึ้น
-รัฐเป็นผู้กำหนดราคาของสินค้ากลไกราคาไม่มีบทบาท
ข้อเสีย
-โอกาศในการพัฒนาคุณภาพของสินค้ามีน้อย
-เอกชนไม่มีเสรีภาพในการผลิตสินค้าและบริการ
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)
ลักษณะสำคัญ
-เป็นการรวบรวมกันของกองทุนนิยมและสังคมนิยม
-รัฐเป็นเจ้าของเฉพาะปัจจัยการผลิตที่สำคัญๆและส่งผลต่อส่วนรวม
-ราคาเป็นไปตามกลไกแตรัฐสามารถทรกแซงได้ตามความเหมาะสม
-มีหน่วยงานที่ทำงานร่วมกันระหว่างรัฐและเอกชน เรียกว่า รัฐวิสาหกิจ
ข้อดี
-มีความยืดหยุ่นในการเลือกใช้มาตรการต่างๆตามสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ
-ลดปัญหาเรื่องการกระจายรายได้
-เอกชนมีเสรีภาพในการผลิตและบริการสินค้า
ข้อเสีย
-การจัดสรรทรัพยากรอาจไม่มีประสิทธิภาพมากเพราะรัฐเข้าแทรกแซงได้
-เอกชนต้องฟังนโยบายของรัฐอาจเปลี่ยนแปลงได้เสมอ
กลไกตลาดหรือกลไกราคา
อุปสงค์ (Demand)
หมายถึง ปริมาณความต้องการซื้อ (เต็มใจ) โดยผู้ซื้อสินค้าและบริการนั้นมีความสามารถในการซื้อสินค้าและบริการนั้นด้วย
อุปทาน (Supply)
หมายถึง ปริมาณความต้องการขายโดยที่ผู้ขายสินค้าและบริการนั้นมีความสามารถในการขายสินค้าและบริการนั้นด้วย
การกำหนดราคา (การแทรกแซงราคาของรัฐ)
-การกำหนดราคาขั้นต่ำ
หมายถึง การประกันราคา ไม่ให้ราคาต่ำกว่าที่กำหนด
-การกำหนดราคาขั้นสูง
หมายถึง การกำหนดเพดานราคา ไม่ให้ราคาสูงเกินกว่าที่กำหนด
ภาวะดุลยภาพ
หมายถึง ภาวะที่ราคามีความเหมาะสม ทำให้ Demand = Supply
ณ ดุลยภาพ
ราคาซื้อ = ราคาขาย
ปริมาณซื้อ = ปริมาณขาย
ตลาด (ในทางเศรษฐศาสตร์)
หมายถึง กระบวนการ บริบท สภาวการณ์ที่มีการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ
ตลาดแบ่งได้2ประเภท
ตลาดแข่งสมบรูณ์
ตลาดแข่งขันไม่สมบรูณ์
ตลาดผูกขาด
ตลาดผู้ขายน้อยราย
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด