Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Subarachnoid Hemorrhage ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสองชันกลาง - Coggle…
Subarachnoid Hemorrhage
ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสองชันกลาง
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 41 ปี
มีโรคประจำตัว HT,DLP
ประวัติการผ่าตัด = ปฏิเสธ
ประวัติการแพ้อาหาร/ ยา = ปฏิเสธ
ประวัติการเกิดอุบัติเหตุ = ปฏิเสธ
อาการสำคัญที่นำมาโรงพยาบาล
1 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล ขับมอเตอร์ไซค์ชนกับกระบะ มีปวดบวมที่ศีรษะ ไม่สลบจำเหตุการณ์ได้
กิจกรรมพยาบาล
3.จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง 15-30 องศา รักษาแนวศีรษะและลำตัวให้อยู่ในแนวปกติของร่างกาย เพื่อให้เลือดดำไหลกลับสะดวก(นอนราบเลือดดำคั่งในสมอง นอนศีรษะสูงเกินไปเกิดสมองเลื่อน Brain herniation) แนะนำให้เลี่ยงการนอนท่าคว่ำหรือศีรษะต่ำกว่าปลายเท้า
แนะนำให้เลี่ยงการงอพับของคอ และการหมุนหรือหันศีรษะ เพราะเป็นการขัดขวางการไหลกลับ ของเลือดดำจากสมอง ทำให้ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของผู้ป่วยเช่น ซึม เรียกไม่รู้สึกตัว
5.. แนะนำให้เลี่ยงการงอข้อสะโพกมากกว่า 90 องศา เนื่องจากจะมีการคั่งของเลือดในช่องท้อง ทำให้
แรงดันในช่องท้องสูง เป็นผลให้แรงดันช่องอกสูงขึ้นด้วย มีผลไปขัดขวางการไหลกลับของเลือดดำจากศีรษะ
2.วัดและประเมินความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด ประเมินอาการทางระบบประสาท ได้แก่ ระดับ
ความรู้สึกตัว รูม่านตา ขนาดปฏิกิริยาต่อแสง GCS ระยะความถี่ เฝ้าระวัง ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนไป รูม่าน ตาขยายไม่เท่ากันหรือ GCS แย่ลง มีชักเกร็ง ต้องให้การช่วยเหลือรายงานแพทย์ทันที
ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
การประเมิน
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ไม่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ไม่ปวดศีรษะรุนแรง, Glasgow coma scale เท่ากับ 15 Motor power ดีขึ้น แขนขวาระดับ 4 แขนซ้ายระดับ 1 ขาขวาระดับ 4 ขาซ้ายระดับ 2, Pupil เท่ากับ 2.5 มิลลิเมตร มีปฏิกิริยาต่อแสงปกติเท่ากันทั้งสองข้าง ความดันโลหิตลดลง 144/87 มิลลิเมตรปรอท หายใจ สม่ำเสมอ 22 ครั้งต่อนาที
ไม่พบอาการของภาวะความดันโลหิตในกระโหลกศีรษะสูง เช่น ปวดศีรษะ อาเจียน ตาพร่ามัว การชักเกร็ง กระตุก
การรักษา
การให้ยา
ยาป้องกันหลอดเลือดหดเกร็ง อย่างนิโมดิปีน
ยาบรรเทาอาการปวด เช่น พาราเซตามอลผสมกับโคเดอีน และมอร์ฟีน เป็นต้น
ยาต้านชัก อย่างเฟนิโทอิน
ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน
ข้อวินิจทางการพยาบาล
Ns.Dx. เสี่ยงต่อภาวะความดันโลหิตในกระโหลกศีรษะสูง เนื่องจากมีพยาธิสภาพที่สมอง
ข้อมูลสนุบสนุน
S: ผู้ป่วยบอกว่า “1 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล ขับรถมอเตอร์ไซค์ชนกับรถกระบะ มีปวดบวมที่ศีรษะ ไม่สลบจำเหตุการณ์ได้ ”
O: พบศีรษะบวมนูนเป็นก้อน
Pain Score = 5/10 คะแนน
วัตถุประสงค์
Goal : ไม่เกิดภาวะความดันโลหิตในกระโหลกศีรษะสูง
เกณฑ์การประเมิน
EO :1. ระดับความรู้สึกตัวดี ไม่มีอาการ คลื่นไส้ อาเจียน ไม่ปวดศีรษะรุนแรง
Glasgow coma scale 15 คะแนนหรือไม่ลดลงกว่าเดิม ไม่ชักเกร็ง
Motor power ดีขึ้นหรือไม่แย่ลง
Pupil เท่ากับ 2-3 มิลลิเมตร มีปฏิกิริยาต่อแสงปกติ เท่ากันทั้งสองข้าง
ความดันโลหิตอยู่ช่วง 90/60-139/90 มิลลิเมตรปรอท หายใจสม่ำเสมอ
O: CT Brain : Acute Subarachnoid hemorrhage
อาการและอาการแสดงของภาวะ Subarachnoid hemorrhage
เมื่อหลอดเลือดดำที่สมองฉีกขาดจะทำให้เกิดการไหลซึมเข้าสู่ข่องว่างในชั้น subarachnoid เลือดที่ออกมาจะระคายเคืองต่อเยื่อหุ้มสมองและเนื้อเยื่อประสาท เกิดปฏิกิริยาการอักเสบมีควาดันในกระโหลกศีรษะสูงและเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง เลือดที่เบียดเนื้อเยื่อสมองมีการสร้าง granulation tissue และรอยแผลเป็นที่เยื่อหุ้มสมอง ร่วมกับไม่สารมารถดูดซึมน้ำไขสันหลังกลับไม่ได้หมด จึงเกิดภาวะ hydrocephalus ตามมา
อาการหลักของ Subarachnoid Hemorrhage คือ ปวดศีรษะอย่างรุนแรงขึ้นมาในทันที โดยปวดคล้ายถูกตีที่ศีรษะ ในบางครั้งอาจเกิดขึ้นขณะทำกิจกรรมที่ต้องออกแรง เช่น ไอ ขับถ่าย หรือมีเพศสัมพันธ์ เป็นต้น
คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดคอ คอยึดตึง
รู้สึกคลื่นไส้ ผะอืดผะอม
รู้สึกปวดตาเมื่อเห็นแสงจ้า
มองเห็นไม่ชัด หรือมองเห็นเป็นภาพซ้อน
สับสน มึนงง หมดสติ
ชัก
อาการอื่น ๆ คล้ายโรคหลอดเลือดสมอง เช่น พูดไม่รู้เรื่อง สื่อสารไม่ได้ ตัวชา หรือเป็นอัมพาตครึ่งซีก เป็นต้น