Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจำแนกหมวดคำไทยโดยใช้กรอบประโยคทดสอบ - Coggle Diagram
การจำแนกหมวดคำไทยโดยใช้กรอบประโยคทดสอบ
คำลักษณนาม
นาม + ลักษณนาม + กริยาอกรรมย่อย + นี่ + กริยาอกรรม + แล้ว
ตัวอย่าง
กล้วย
หวี
ใหญ่นี่เหี่ยวแล้ว
หมวดคำหน้าจำนวน
นาม + คำช่วยหน้ากริยา + กริยาสกรรม + นาม + คำหน้าจำนวน + คำบอกจำนวน + ลักกษณนาม
ตัวอย่าง
เพื่อนจะซื้อหนังสือ
อีก
2 เล่ม
หมวดคำลำดับที่
นาม + คำช่วยหน้ากริยา + กริยาสกรรม + นาม + ลักษณนาม + คำบอกลำดับที่
ตัวอย่าง
พ่อเพิ่งปลูกบ้านหลังเดียว
หมวดคำสรรพนาม
ข้อสังเกต : เราอาจจะนำคำคุณสรรพมาขยายคำนานได้ แต่จะนำคำคุณสรรพมาขยายคำสรรพนามไม่ได้
ตัวอย่าง
เด็กอ้วนมักกินจุ
หมวดจำนวนนับ
นาม + คำช่วยหน้ากริยา + กริยาสกรรม + นาม + คำจำนวนนับ + ลักษณนาม
ตัวอย่าง
หนุ่มจะซื้อหนังสือ
2
เล่ม
หมวดกริยาทวิกกรม
ประโยค ก. นาม + กริยาทวิกรรม (ท) + นาม + นาม + แล้ว ประโยค ข. นาม + กำลัง + กริยาทวิกรรม (ท) + นาม +นาม
ตัวอย่าง
ประโยค ก. พี่
ป้อน
ข้าวน้องแล้ว ประโยค ข. พี่กำลัง
ป้อน
ข้าวน้อง
คำคุณศัพท์
คือ คำที่ทำหน้าที่ขยายคำนาน
6.1 ประเภทที่ขยายคำนามได้อย่างเดียว มีลักษณนามหรือไม่ก็ได้ ได้แก่ ส่วนตัว เปล่า ง่อย ใบ้ หัวปี และบางสี เช่น สีน้ำตาล ม่วง เทา
ตัวอย่าง
**แดงเป็นลูกหัวปลี , เวื้อน้ำตาลยังไม่ได้ซัก
หมวดคำกริยาอกรรมย่อย
ประโยค ก. นาม + กริยาอกรรมย่อย + กว่า + นาม + แล้ว
ตัวอย่าง
เอก
อ้วน
กว่าก้องแล้ว เสื้อ
เก่า
กว่ากางเกงแล้ว
กริยาอกรรมย่อย ใช้คำว่า "กว่า"หรือ "ที่สุด" ได้ทันที กริยาอกรรม จะต้องมีคำว่า "มาก" "น้อย" มาคั่นอยู่ก่อน
ตัวอย่าง
กริยาอกกรรมย่อย
เสื้อเก่า
กว่า
, เสื้อเก่า
ที่สุด
กริยาอกรรม
น้องร้องไห้
มาก
กว่า... , น้องร้องไห้
น้อย
กว่า...
และ 2 คำนามและคำกริยาอกรรม มีกรอบประโยคทดสอบ 2 กรอบ
ประโยค ก. นาม + กริยาอกรรม (อ) + แล้ว ประโยค ข. นาม + กำลัง +กริยาอกรรม (อ)
ตัวอย่าง
ประโยค ก. ดาว
เดิน
แล้ว ประโยค ข. ดาวกำลัง
เดิน
หมวดคำกริยาสกรรม
ประโยค ก. นาม + กริยาสกรรม (ส) + นาม +แล้ว ประโยค ข. นาม + กำลัง + กริยาสกรรม (ส) + นาม
ตัวอย่าง
ประโยค ก. นก
อ่าน
หนังสือแล้ว ประโยค ข. นกกำลัง
อ่าน
หนังสือ
หมวดคำวิเศษณ์ ในภาษาไทยมีอยู่ไม่มากนัก
ตัวอย่าง
ปกติเด็กคนนี้ซนเหลือเกิน
หมวดลงท้าย
ตัวอย่าง
คะ ค่ะ ครับ จ๊ะ จ๋า เหรอ ขา ฮะ ไหม ล่ะ นะ น่ะ
หมวดคำปฏิเสธ ที่ใช้บ่อยที่สุด คือ คำว่า "ไม่"
ข้างหลังคำช่วยหน้ากริยาบางคำ
ตัวอย่าง
: เกิด (วันนี้เพื่อนเกิดไม่มา)
ข้างหน้าคำช่วยหน้ากริยาบางคำ
ตัวอย่าง
: ค่อย หน้า ได้ มัว
เขาไม่
ค่อย
ได้มาที่นี่ , ขนมไม่
น่า
กิน
ข้างหน้าหรือข้างหลังคำช่วยหน้ากริยาบางคำ
ตัวอย่าง
: ควร เคย ต้อง อยาก เธอไม่
ควร
ไปพบเขา , เธอ
ควร
ไม่ไปพบเขา
ไม่ปรากฏคำช่วยหน้ากริยาประโยค อาคปรากฏหน้าคำกริยา
ตัวอย่า
ง แดดไม่
ออก
เลย , น้ำไม่
ไหล
คำช่วยหลังกริยา
คือคำที่ปรากฏอยู่หลังตำแหน่ง"หน่วยกริยา" แทนที่คำว่า "แล้ว"
ประโยค ก.
นาม + กริยาอกกรม (อ) + แล้ว
ประโยค ข.
นาม + กริยาสกรรม (ส) + นาม + แล้ว
ประโยค ค.
นาม + กริยาทวิกรรม (ท) + นาม + นาม + แล้ว
ตัวอย่าง
1. ฝนตก
แล้ว
, ฝนตก
อยู่แล้ว
2. น้าทำกับข้าว
แล้ว
, น้ากำลังทำกับข้าว
อยู่
3. ผู้อำนวยการแจกเกียรติบบัตรนักเรียน
แล้ว
, ผู้อำนวยการแจกเกียรติบัตรนักเรียน
อยู่
หมวดคำหน้ากริยา มี 2 คำ คือ "มา" กับ "ไป" มีความหมายแสดงทิศทางของผู้พูด
ไป
นำหน้าคำกริยา แสดงว่าเป็นเรื่องที่เกิดในทิศทางที่ห่างออกไปจากตัวผู้พูด
ตัวอย่าง
ไปส่ง , ไปพบ
มา
นำหน้าคำกริยา แสดงว่าเป็นเรื่องที่เกิดในทิศทางที่เข้ามาหาตัวผู้พูด
ตัวอย่าง
มาส่ง , มาพบ
คำช่วยหน้ากริยา
ก.
นาม + กำลัง + กริยาอกรรม (อ)
ข.
นาม + กำลัง + กริยาสกรรม (ส) + นาม
ค.
นาม + กำลัง + กริยาทวิกรรม (ท) + นาม + นาม
ตัวอย่าง
1. ฝน
กำลัง
ตก , ฝน
เพิ่ง
ตก 2. น้า
กำลัง
ทำกับข้าว , น้า
เคย
ทำกับข้าวแล้ว 3. ผู้อำนวยการ
กำลัง
แจกเกียรติบัตรนักเรียน , ผู้อำนวยการ
จะ
แจกเกียรติบัตรนักเรียน
หมวดคำกริยาวิเศษณ์
นาม + กริยาอกรรม (อ) + คำกริยาวิเศษณ์
ตัวอย่าง
รถสวยจัง , รถสวยเหลือเกิน
หมวดคำหลังกริยา มี 11 คำ
11.5 เข้า
ตัวอย่าง
แต่งตัวเข้า , กระชับเข้า
11.6 ออก
ตัวอย่าง
ระเบิดออก , ขยายออก
11.4 ลง
ตัวอย่าง
คว้าลง , เย็นลง
11.7 เสีย
ตัวอย่าง
ดินสอหักเสียแล้ว , ทายาเสีย
3 ขึ้น
ตัวอย่าง
อ้วนขึ้น , แต่งเพลงขึ้น
11.8 ไว้
ตัวอย่าง
นิ่งไว้ , จำไว้
11.2 มา
ตัวอย่าง
ฉันเห็นมากับตา
11.9 เอา
ตัวอย่าง
เดี๋ยวยุงกัดเอา
1 ไป
ตัวอย่าง
สูงไป (สูงเกินไป)
11.10 ให้
ตัวอย่าง
เดี๋ยวแม่ตีให้
11.11 ดู
ตัวอย่าง
ฟังดู , เคาะดู
หมวดคำหลังจำนวน
นาม + คำช่วยหน้ากริยา + กริยาสกรรม + คำบอกจำนวนนับ + ลักษณนาม + คำหลังจำนวน
ตัวอย่าง
โหน่งซื้อผ้า 2 หลา
เศษ
คำกำหนดเสียงตรีและเสียงจัตวา
นี้ นั้น โน้น ไหน แล้ว
ตัวอย่าง
โต๊ะ
นี้
, รถคัน
นั้น
คำบอกกำหนดเสียงโท
นี่ นั่น โน่น นู่น
ตัวอย่าง
โต๊ะ
นี่
, รถ
นี่
หมวดคำบุพบท
นาม + คำช่วยหน้ากริยา + กริยาอกรรม + คำบุพบท + นาม
ตัวอย่าง
เรือกำลังแล่น
ใต้
สะพาน
หมวดคำบอกเวลา
1 ปรากฏได้ตามลำพัง
ตัวอย่าง
กลางคืน
อากาศหนาวมาก
23.2 ปรากฏตามลำพังไม่ได้
ตัวอย่าง
เมื่อ
ตะกี้ไปไหนมา
หมวดเชื่อมคำนาม
ตัวอย่าง
เสื้อ
กับ
กางเกง , เนื้อ
หรือ
ไก่
หมวดคำเชื่อมอนุพากย์
ตัวอย่าง
เขาไม่สบาย
แต่ก็
ยังมาโรงเรียน