Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจำแนกหมวดคำไทย โดยใช้กรอบประโยคทดสอบ, -เราไม่ต้องบอกเขาล่วงหน้า …
การจำแนกหมวดคำไทย
โดยใช้กรอบประโยคทดสอบ
คำนามและกริยาอกรรม
กรอบประโยคทดสอบ
ประโยค ก.
นาม +
กริยาอกรรม(อ)
+ แล้ว
ประโยค ข.
นาม + กำลัง +
กริยาอกรรม(อ)
ตัวอย่าง
ประโยค ก.
ฝน
ตก
แล้ว
ประโยค ข.
ฝน กำลัง
ตก
หมวดคำกริยาสกรรม
กรอบประโยคทดสอบ
ประโยค ก.
นาม +
กริยาสกรรม(ส)
+ นาม + แล้ว
ประโยค ข.
นาม + กำลัง +
กริยาสกรรม(ส)
+ นาม
ตัวอย่าง
ประโยค ก.
น้า
ทำ
กับข้าว แล้ว
ประโยค ข.
น้า กำลัง
ทำ
กับข้าว
หมวดคำกริยาทวิกรรม
กรอบประโยคทดสอบ
ประโยค ก
.
นาม +
กริยาทวิกรรม(ท)
+ นาม + นาม + แล้ว
ประโยค ข.
นาม + กำลัง +
กริยาทวิกรรม(ท)
+ นาม + นาม
ตัวอย่าง
ประโยค ก.
ผู้อำนวยการ
แจก
เกียรติบัตร นักเรียน แล้ว
ประโยค ข.
ผู้อำนวยการ กำลัง
แจก
เกียรติบัตร นักเรียน
หมวดคำกริยาอกรรมย่อย
กรอบประโยคทดสอบ
นาม +
กริยาอกรรมย่อย
+ กว่า + นาม + แล้ว
ตัวอย่าง
-เอก
อ้วน
กว่า ก้อง แล้ว
-เสื้อ
เก่า
กวาง กางเกง แล้ว
ถ้า
กริยาอกรรม
จะเติมในกรอบประโยคนี้
ไม่ได้
ตัวอย่าง
-น้อง
ร้องไห้
กว่า พี่
-ครู
นั่ง
กว่า นักเรียน
กริยาอกรรมย่อย
ใช้คำว่า
“กว่า”
หรือ
“ที่สุด”
ได้ทันที
ตัวอย่าง
-เสื้อ เก่า
กว่า
….
-เสื้อ เก่า
ที่สุด
กริยาอกรรม
จะต้องมีคำว่า
“มาก” “น้อย”
มาคั่นก่อน
ตัวอย่าง
-น้อง ร้องไห้
น้อยกว่า
….
-น้อง ร้องไห้
มาก
ที่สุด
คำคุณศัพท์
คือ คำที่ทำหน้าที่ขยายคำนาม โดยมีหรือไม่มีลักษณนามมาช่วยก็ได้
ตัวอย่าง
คำที่ขยายโดย
ไม่มีลักษณนาม
มาช่วย
-แดงเป็นลูก
หัวปี
-เสื้อ
น้ำตาล
ยังไม่ได้ซัก
คำที่ขยายโดยมี
ลักษณนาม
มาช่วย
-ลูก
คน
หัวปีเรียนเก่ง
-เสื้อ
ตัว
น้ำตาลอยู่ไหน
คำช่วยหลังกริยา
คือ คำที่อยู่หลังตำแหน่ง “หน่วยกริยา”
แทนที่คำว่า “แล้ว”
ในกรอบประโยคทดสอบ
กรอบประโยคทดสอบ
ประโยค ก.
นาม +
กริยาอกรรม(อ)
+ แล้ว
ประโยค ข.
นาม +
กริยาสกรรม(ส)
+ นาม + แล้ว
ประโยค ค.
นาม +
กริยาทวิกรรม(ท)
+ นาม + นาม + แล้ว
ตัวอย่าง
ฝน ตก แล้ว
ฝน ตก
อยู่แล้ว
น้า ทำ กับข้าว แล้ว
น้า ทำ กับข้าว
อยู่
ผู้อำนวยการ แจก เกียรติบัตร นักเรียน แล้ว
ผู้อำนวยการ แจก เกียรติบัตร นักเรียน
อยู่
คำช่วยหน้ากริยา
คือ คำที่อยู่ตำแหน่งหน้า “หน่วยกริยา”
แทนที่คำว่า “กำลัง”
ในกรอบประโยคทดสอบ
กรอบประโยคทดสอบ
นาม + กำลัง +
กริยาอกรรม(อ)
นาม + กำลัง +
กริยาสกรรม(ส)
+ นาม
นาม + กำลัง +
กริยาทวิกรรม(ท)
+ นาม + นาม
ตัวอย่าง
ฝน กำลัง ตก
ฝน
เพิ่ง
ตก
น้า กำลัง ทำ กับข้าว
น้า
เคย
ทำ กับข้าว
ผู้อำนวยการ กำลัง แจก เกียรติบัตร นักเรียน
ผู้อำนวยการ
จะ
แจก เกียรติบัตร นักเรียน
หมวดคำปฏิเสธ
ใช้บ่อยสุดคือคำว่า
“ไม่”
ข้างหลัง
คำช่วยหน้ากริยาบางคำ
ตัวอย่าง
วันนี้เพื่อน
เกิด
ไม่มา
คำ
เกิด เกือบ กำลัง คง ค่อนข้าง จวน จะ ชัก แทบ พลอย เพิ่ง มัก ย่อม ยัง อาจ ดูเหมือน คล้ายจะ ท่าจะ หมายจะ เห็นจะ ออกจะ แสนจะ จะได้
ข้างหน้า
คำช่วยหน้ากริยา
คำ
ค่อย น่า ได้ มัว
ข้างหน้าหรือข้างหลัง
คำช่วยหน้ากริยา
คำ
ควร เคย ต้อง อยาก
ตัวอย่าง
-เธอไม่
ควร
ไปพบเขา
-เธอ
ควร
ไม่ไปพบเขา
-เขาไม่
อยาก
ออกไป
-เขา
อยาก
ไม่ออกไปเอง
ไม่ปรากฏคำช่วยหน้ากริยา
อาจปรากฏหน้าคำกริยา
ตัวอย่าง
-แดดไม่
ออก
เลย
-น้ำไม่
ไหล
หมวดคำหน้ากริยา
คำ
ไป มา
มีความหมายแสดงทิศทางเกี่ยวกับผู้พูด
ไป
เป็นเรื่องที่เกิดในทิศทาง
ห่างออกไป
จากตัวผู้พูด
ตัวอย่าง
ไปส่ง ไปพบ
มา
เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นในทิศทาง
เข้ามาหา
ตัวผู้พูด
ตัวอย่าง
มาส่ง มาพบ
หมวดคำหลังกริยา
ไป
เป็นเรื่องที่เกิดในทิศทางที่ห่างออกไปจากตัวผู้พูด
ตัวอย่าง
ส่งไป เข้าไป
เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเเล้ว
ตัวอย่าง
ให้เงินเขาไปเมื่อวาน
เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นแล้วดำเนินอยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่ง
ตัวอย่าง
เขาหัวเราะไปตลอดทาง
2 เหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกัน
ตัวอย่าง
ทำงานไปเล่น Facebook ไป
มา
เป็นเรื่องที่เกิดในทิศทางที่เข้ามาหาตัวผู้พูด
ตัวอย่าง
ส่งมา เข้ามา
เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นแล้ว
ตัวอย่าง
ฉันเห็นมากับตา
เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นในอดีตดำเนินมาถึงปัจจุบันและอาจดำเนินไปถึงอนาคต
ตัวอย่าง
พักที่นี่มาหลายวันแล้ว
ขึ้น
เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นในทิศทางสู่เบื้องบน
ตัวอย่าง
หงายขึ้น
แสดงความหมายมากกว่าเดิม
ตัวอย่าง
อ้วนขึ้น
ลง
เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นในทิศทางสู่เบื้องต่ำ
ตัวอย่าง
คว่ำลง
แสดงความหมายมากกว่าเดิม
ตัวอย่าง
ผอมลง
เข้า
เป็นการเร่งเร้า
ตัวอย่าง
รีบทำเข้า แต่งตัวเข้า
เป็นเรื่องที่ไม่ได้คาดคิดไว้
ตัวอย่าง
ไปเจอเพื่อนเข้า
เป็นการเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปสู่ที่หนึ่ง โดยลดขนาดลง
ตัวอย่าง
กระชับเข้า
ออก
เป็นการเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปสู่ที่หนึ่ง โดยขยายขนาดขึ้น
ตัวอย่าง
ขยายออก แผ่ออก ระเบิดออก
เสีย
เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นแล้ว
ตัวอย่าง
ดินสอหักเสียแล้ว
เป็นเรื่องที่อาจจะเกิดขึ้นทันทีที่ผู้พูดพูดเสร็จ
ตัวอย่าง
ทานยาเสีย
ไว้
ให้คงทำอย่างนั้นไว้
ตัวอย่าง
นิ่งไว้ จำไว้
เอา
เป็นเรื่องที่ถูกกระทำ
ตัวอย่าง
เดี๋ยวยุงกัดเอา
ให้
เป็นเรื่องที่ถูกกระทำ
ตัวอย่าง
เดี๋ยวแม่ตีให้
ดู
แสดงความหมายว่า ลอง
ตัวอย่าง
ฟังดู เคาะดู
หมวดคำลงท้าย
คือ คำที่อยู่ตำแหน่งท้ายสุดของประโยค
ตัวอย่าง
คะ ค่ะ ครับ จ๊ะ จ้ะ จ๋า เหรอ ขา ฮะ ไหม ล่ะ นะ น่ะ
หมวดคำกริยาวิเศษณ์
กรอบประโยคทดสอบ
นาม + กริยาอกรรม(อ) +
คำกริยาวิเศษณ์
ตัวอย่าง
รถสวยจัง
คำ
จัง เหลือเกิน ออก ก่อน ด้วย อีก กระมัง เรื่อย บ่อย เหมือนกัน มาก ทีเดียว เสมอ หน่อย ทำไม เท่าใด
หมวดคำพิเศษ
คำ
ปกติ น่า กลัว ธรรมดา ส่วนมาก ส่วนใหญ่ โดยทั่วไป โดยทั่ว ๆ ไป
ตัวอย่าง
-
ปกติ
เด็กคนนี้ซนเหลือเกินนะ
-เด็กคนนี้
ปกติ
ซนเหลือเกินนะ
-เด็กคนนี้ซนเหลือเกินนะ
ปกติ
หมวดคำสรรพนาม
ปรากฏในตำแหน่งเดียวกับคำนามได้
กรอบประโยคทดสอบ
ประโยค ก. นาม
+ กริยาอกรรม(อ) + แล้ว
ประโยค ข. นาม
+ กำลัง + กริยาอกรรม(อ)
ตัวอย่าง
แม่ มา แล้ว
เธอ
มา แล้ว
แม่ กำลัง มา
เธอ
กำลัง มา
คำคุณศัพท์ขยายคำนามได้ แต่นำคำคุณศัพท์มาขยายคำสรรพนามไม่ได้
ตัวอย่าง
เด็ก อ้วน มักกินจุ
ประโยคนี้ อ้วน ขยายคำนาม เด็ก
เธอ
อ้วน มักกินจุ
ประโยคนี้ อ้วน ไม่ได้ขยายคำสรรพนาม
คำลักษณนาม
กรอบประโยคทดสอบ
นาม +
ลักษณนาม
+ กริยาอกรรมย่อย + นี่ + กริยาอกรรม + แล้ว
ตัวอย่าง
กล้วย
หวี
ใหญ่ นี่ เหี่ยว แล้ว
หมวดคำบอกจำนวน
หมวดคำจำนวนนับ
กรอบประโยคทดสอบ
นาม + คำช่วยหน้ากริยา + กริยาสกรรม + นาม +
คำจำนวนนับ
+ ลักษณนาม
ตัวอย่าง
หนุ่ม จะ ซื้อ หนังสือ
2
เล่ม
หมวดคำลำดับที่
กรอบประโยคทดสอบ
นาม + คำช่วยหน้ากริยา + กริยาสกรรม + นาม + ลักษณนาม +
คำบอกลำดับที่
ตัวอย่าง
-พัฒน์ จะ นั่ง รถ คัน
ที่สอง
-พ่อ เพิ่ง ปลูก บ้าน หลัง
เดียว
คำ
ที่หนึ่ง ที่สอง หนึ่ง เดียว แรก สุดท้าย หน้า กลาง หลัง
หมวดคำหน้าจำนวนนับ
กรอบประโยคทดสอบ
นาม + คำช่วยหน้ากริยา + กริยาสกรรม + นาม +
คำหน้าจำนวน
+ คำบอกจำนวน + ลักษณนาม
ตัวอย่าง
เพื่อน จะ ซื้อ หนังสือ
อีก
2 เล่ม
หมวดคำหลังจำนวน
กรอบประโยคทดสอบ
นาม + คำช่วยหน้ากริยา + กริยาสกรรม + นาม + คำบอกจำนวนนับ + ลักษณนาม +
คำหลังจำนวน
ตัวอย่าง
โหน่ง จะ ซื้อ ผ้า 2 หลา
เศษ
คำ
เศษ เศษ ๆ กว่า กว่า ๆ เท่านั้น ครึ่ง พอดี ถ้วน
หมวดคำบอกกำหนด
คำบอกกำหนดเสียงตรีและจัตวา
คำ
นี้ นั้น โน้น นู้น ไหน แล้ว
ตัวอย่าง
-โต๊ะ
นี้
(ตามหลังคำนามทันที)
-รถ
คัน
โน้น (ตามหลังคำนามมีลักษณนามคั่น)
มีความหมายชี้เฉพาะเจาะจงที่คำนาม
คำบอกกำหนดเสียงโท
คำ
นี่ นั่น โน่น นู่น
ตัวอย่าง
โต๊ะ
นี่
รถ
นี่
มีความหมายบ่งถึงสถานที่ที่อยู่ของคำนาม
หมวดคำบอกเวลา
ปรากฏได้ตามลำพัง อาจจะอยู่ต้นหรือท้ายประโยคก็ได้
ตัวอย่าง
-
กลางคืน
อากาศหนาวมาก
-อากาศหนาวมาก
กลางคืน
ปรากฏตามลำพังไม่ได้ ต้องทำหน้าที่ร่วมกับคำบอกเวลาด้วยกัน
ตัวอย่าง
-
เมื่อ
ตะกี๊ ไปไหนมา
-ไปไหนมา
เมื่อ
ตะกี๊
-
ตอน
บ่าย ๆ คุณยาย มักจะหลับ
-คุณยาย มักจะหลับ
ตอน
บ่าย ๆ
หมวดคำบุพบท
กรอบประโยคทดสอบ
นาม + คำช่วยหน้ากริยา + กริยาอกรรม +
คำบุพบท
+ นาม
ตัวอย่าง
-เรือ กำลัง แล่น
ใต้
สะพาน
-เด็ก เพิ่ง ขึ้น
จาก
น้ำ
คำ
บน ข้าง นอก ใน เหนือ กลาง กว่า ตาม ตรง แถว ตลอด ทาง กับ แต่ ตั้งแต่ หลัง หน้า กลาง ที่
หมวดคำเชื่อม
หมวดคำเชื่อมนาม
คำที่อยู่ระหว่างคำนาม 2 คำ เวลาออกเสียงไม่เน้นหนักที่คำเชื่อม
ตัวอย่าง
-เสื้อ
กับ
กางเกง
-เนื้อ
หรือ
ไก่
-ปากกา
ของ
น้อง
หมวดคำเชื่อมอนุพากย์
ปรากฏในประโยคผสมและประโยคซับซ้อน
ตัวอย่าง
-เขาไม่สบาย
แต่ก็
ยังมาโรงเรียน
-ฉันจะไปดูหนัง
แล้วก็
ไปหาเพื่อน
-เราไม่
ต้อง
บอกเขาล่วงหน้า
-เรา
ต้อง
ไม่บอกเขาล่วงหน้า