Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case study เตียง23 CKD STAGE 5 with Hypoglycemia โรคไตเรื้อรังระยะที่ …
Case study เตียง23
CKD STAGE 5
with Hypoglycemia
โรคไตเรื้อรังระยะที่ 5 เเละ มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
Hypoglycemia
โรคเบาหวาน
ทฤษฎี เเบ่งเป็น4ชนิด
โรคเบาหวานชนิดที่1
เกิดจากเซลล์ดับอ่อนถูกทาลัยโดยภูมิคุ้มกันของร่างกาย ท่าให้ขาด อินซูลินมักพบในเด็ก
โรคเบาหวานชนิดที่2
เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุด ของผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด เกิดจากภาวะ คืออินซูลินมักพบในผู้ใหญ่ หรือผู้ที่มีน้ำหนักเกิน หรืออ้วน ไม่ต้องพึ่งอินซูลิน เเต่ให้ควบคุมพฤติกรรมการกิน
โรคเบาหวานมีสาเหตุจำเพราะ
มีได้หลายสาเหตุ เช่น โรคของดับอ่อน โรคทางต่อมไร้ท่อ หรือยา
สเคียรอยด์
เป็นโรคเบาหวานที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์
มักเกิดเมื่อไตรมาส 2-3 ของ การตั้งครรภ์
กรณีศึกษา
ผู็ป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่2
พยาธิสภาพ
ระดับน้ำตาลในเลือดเเรกรับ DTX 40mg%
ทฤษฎี
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่า 70 มิลลิกรัม / เดซิลิตรมักทำให้เกิดอาการใจสั่นอ่อนเพลียซึ่งเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำนั้นมีโอกาสเกิดขึ้นสูงกับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ใช้ยาลดน้ำตาลหรือฉีดอินซูลิน
กรณีศึกษา
สาเหตุ
ทฤษฎ๊
1 ได้รับยารักษาเบาหวานที่ไม่เหมาะสมทั้งชนิดของยา ขนาดยาที่มากเกิน ไป และเวลาในการรับประทานยา
2 รับประทานอาหารปริมาณน้อยกว่าปกติหรือไม่เพียงพอ หรืองดมื้ออาหาร หรือเลื่อนเวลารับประทานอาหาร รวมไปถึงปรับเปลี่ยนการรับประทาน อาหารที่ทาให้ปริมาณคาร์โบไฮเดรตหรือนํ้าตาลต่ำลง
3 การออกกำลังกายที่มากเกินไป
4 มีการผลิตกลูโคสที่ดับน้อยลง เช่น ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นโรคตับ
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อย มีอาการเบื่ออาหาร
การรับรสเปลี่ยนไป
เเละได้รับยา ที่มีผลข้างเคียงที่ทำให้เบื่ออาหาร
เป็นยา ferrousfumarate เเละ folic acid เป็นยาเสริมธาตุเหล็ก เเละยาบำรุงเลือด
ผลข้างเคียง ปวดท้อง ท้องอืด เเน่นหน้าอก เเละเบื่ออาหาร
ภาวะเเทกซ้อน
ทฤษฎี
ภาวะแทรกซ้อนของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำา หากปล่อย ให้เกิดอาการนานจนเกินไปอาจทำให้ผู้ป่วยหมดสติ เพราะสมองต้องการน้ำตาลเพื่อการทางานอย่างมี ประสิทธิภาพตามปกติ นอกจากนั้น ควรสังเกตถึง สัญญาณและอาการของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำเพื่อให้ ทันท่วงที เพราะหากไม่ได้รักษาอาจทำให้เกิดอาการที่ รุนแรง เช่น อาการชัก หมดสติ หรืออาจถึงขั้นเสียชีวิตได้
กรณีศึกษา
ผู้ป่วย มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ อ่อนเพลีย
อาการเเละอาการเเสดง
ทฤษฎี
่ รู้สึกใจสั่น หัวใจ เต้นเร็ว ความดันโลหิตซิสโตลิคสูง มือสัน รู้สึกกังวล กระสับ กระส่าย คลื่นไส้ รู้สึกร้อน เหงื่อออก ชาและรู้สึกหิว อาการดังกล่าว เป็นอาการเตือนก่อนที่จะมีอาการสมองขาดกลูโคสที่รุนแรงขึ้น อาการสมองขาดกลูโคส (neuroglycopenic symptom) ได้แก่ อ่อนเพลีย อุณหภูมิกายต่า ผิวหนังเย็นและชิ้น มึนงง สับสน ไม่มี สมาธิ ตาพร่ามัว พูดช้า ซึม เป็นอัมพาตครึ่งซีกร่างกาย หาก อาการรุนแรงอาจชักหรือหมดสติ
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยมีอาการ อ่อน เพลีย ซึม มึนงง สับสน การพูดเชื่องเช้า ความโลหิตสูง อยู๋ในช่วง 180/90-196/80 mmhg
การวินิจฉัยโรค
ทฤษฎี
ตรวจเลือดหาระดับน้ำตาลในเลือด หากค่าน้ำตาลในเลือดต่ำกว่าหรือเท่ากับ 70 มิลลิกรัม หากอาการหายไปหลังได้รับอาหารรสหวาน แสดงว่าอาจมีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
กรณีศึกษา
การประเมิณอาการภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ เเละเจาะ DTX ทุก4ชั่วโมง
การวางเเผนการ
1ปฏิบัติตามแผนการรักษาตามที่แพทย์แนะนำอย่างระมัดระวัง รวมถึง
การรับประทานยาและการรับประทานอาหาร และออกกำลังกาย
2 ตรวจสอบปริมาณยารักษาโรคเบาหวานและอินซูลินอย่างระมัดระวัง
3หมั่นตรวจสอบระดับน้ำตาลในเลือดของคุณตามที่แพทย์แนะนำเสมอ เฝ้าสังเกตุอาการตัวเอง สังเกตุอาการของภาวะน้ำตาลใน
เลือดต่ำ
4พกคาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยวไว้กับตัว เช่น น้ำผลไม้ ลูกอมรสหวาน เป็นต้น
CKD STAGE 5
พยาธิ เเละชนิดของโรคไต
ทฤษฎี
โรคไต คือ ภาวะที่ไตทำงานผิดปกติ มีหลายชื่อเรียก เช่น ไตวาย ไตเสื่อม ไตทำงานลดลง ส่งผลให้การกรองลดลงและการขับถ่ายของเสียลดลง ระดับ Creatinine และ BUN ในเลือดจึงเพิ่มขึ้น
1 โรคไตวายเฉียบ
ภาวะที่ไตมีหน้าที่ลดลงอย่างรวดเร็วเป็นชั่วโมงหรือวัน ปัสสาวะลดลง<0.5ml/kg/hr นาน6ชั่วโมง หรือมีของเสียคลั่ง creatinineเพิ่มขึ้น มากกว่าหรือเท่ากับ 0.3mg/dl ภายใน48ชั่วโมง
ไตวายเรื้อรัง
ภาวะที่ไตมีความผิดปกติทางโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ติดต่อกันนานกว่าหรือเทียบเท่า3เดือน พบโปรตีนหรือเม็ดเลือดเเดงในปัสสาวะ GFRผิดปกติ ต่ำกว่า 60ml/min1.73m*2
ระยะของโรคไต
ระยะที่ 2 มีการทําลายไตร่วมกับอัตราการกรองลดลงเล็กน้อย EGFR 60-89 ระยะที่
ระยะที่ 4 มีการลดลงของอัตราการกรองของไตรุนแรง EGFR 15-29
ระยะที่ 5 มีภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (End Stage Renal Disease: ESRD) EGFR <15
ระยะที่ 1 มีการทําลายไตเกิดขึ้นแต่อัตราการครองยังอยู่ในเกณฑ ปกติ EGFR >90
3 มีการลดลงของอัตราการกรองของไตปนกลาง EGFR 30-59
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยเป็นโรคไตเรื้อรัง มีภาวะของของเสียคลั่งในร่างกาย มีอาการบวมที่เเขนขาทั้ง2ข้าง
มีค่า Creatinine 7.77 mg/dl สูง
BUN 96 mg/dl สูง
eGFR 4.5 ml/min/1.73n
หน้าที่ของไต
1.กรองน้ำและขจัดของเสียและสารพิษออกจากร่างกาย
3.สร้างฮอร์โมนอีริโธรโพอิตินซึ่งมีความสำคัญในการผลิตเซลล์เม็ดเลือดแดงและวิตามินที่เกี่ยวข้องกับกระดูก
4กำจัดสารพิษเเละยาที่ได้รับออกจากร่างกาย
2.ควบคุมสมดุลของน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย ควบคุมความเป็นกรดและด่างในเลือด
ข้อวิฉัยเเละการพยาบาล
1 มีภาวะของของเสียคลั่งเเละน้ำเกิน
ข้อมูลสนับสนุน
Creatinine 7.77 mg/dl สูง
BUN 96 mg/dl สูง
eGFR 4.5 ml/min/1.73n
NA 112ต่ำ, Cl 83ต่ำ, ,CA 6.4ต่ำ,
สังเกตุอาการคั่งของของเสียในร่างกายได้แก่สับสน มึนงง อ่อนเพลีย เบื่ออาหารอาเจียน นอนไม่หลับ ชักหมดสติ
จำกัดน้ำผู้ป่วยไม่เกิน1000ccป้องกันภาวะน้ำเกิน
ดูเเลให้ได้รับยาตามเเผนการรักษา Lasix
ดูเเลสายล้างไตบริเวณลำคอไม่ให้เลื่อนหลุด
เเนะนำการกินอาหาร low sait diet เพิ่มโปรตีน จากไข่ขาว
เพื่อลดอาการบวมเเละของเสียคลั่ง
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
2 ซีดเนื่องจากการทำงานของerythropoietin ลดลงเนื่องจากเป็นโรคไตเรื้อรัง
ข้อมูลสนับสนุน
HCT23.6ต่ำ%
Hb7.9g/dl ต่ำ
RBC 2.86m/ulต่ำ
ประเมินภาวะซีด เช่นเยื่อบุตาซีด capilary refill>2วินาที
ดูเเลให้ยาตามเเผนการรักษา
ดูเเลให้ยาตามเเผนการรักษา folic acid ferrous fumarateบำรุงเลือด
เเนะนำหารที่มีธาตุเหล็กเยอะ เช่น ต้มเลือดหมู ผักใบเขียว
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ ได้เเก่ HCT HB
การวินิจฉัย
ทฤษฎี
1.การชักประวัติ อาคารและอาการแสดง เช่น คลื่นไส้อาเจียน ปัสสาวะผิดปกติ 2.การตรวจร่างกาย ความดันโลหิตสูงภาวะไม่สมดุลของน้ำและอิเล็ก โทรไลด์เลือดเป็นกรดอาจพบชีพจรเต้นเร็ว ไม่สม่าเสมอ หายใจ หอบล็คมีไข่ในบางราย 3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ3.1 การตรวจเลือดหาระดับ BUN สูง 3.2 การตรวจเลือดหาระดับ Creatinine การ ประเมินค่าอัตราการกรองของ การตรวจปัสสาวะ
กรณีศึกษา
ซักประวัติ อาการของผู้ป่วยมีอาการออ่อนเพลีย บวมที่เเขนขา ซึม สับสน หายใจเหนื่อย ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบ
urine protein 567 mg/dl สูง
creatinine 7.77mg/dl สูง
eGFR 4.5ml/min1.73n
สาเหตุ
ทฤษฎี
เนื้อไตที่เกี่ยวข้องกับการกรองของเสียออกจากร่างกายเสื่อมลง ส่งผลให้ไตเสื่อมสมรรถภาพมีการสูญเสียโปรดินออกมาในปัสสาวะ ส่งผลให้เกิดภาวะไตวายเฉียบพลันหรือไตวายเรื้อรัง
โรคเบาหวานเเละโรคความดันโลหิตสูง
เบาหวานทำให้มีความผิดปกติของหลอดเลือดที่โคลเมอรูลัส หรือ หลอดฝอยได ทําให้หลอดเลือดแข็งเพิ่มแรงด้านของหลอดเลือดที่ไดและระบบ ความดัน โลหิตสูงขึ้น ไตได้รับเลือดน้อยลง และขาดเลือด จึงทําให้ เกิดไตล้มเหลวตามมา
ความดันโลหิตสูงทำให้เลือดมาเลี้ยงไตลดลง ทำให้การทำหน้าที่ ของไตผิดปกติ เกิดหลอดเลือดแดงที่ไตตีบแข็ง หรือขาดเลือด ทำให้เลือดมาเลี้ยง ที่ไตลดลง
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานเเละความดันโลหิตสูง
ภาวะเเทรกซ้อน
โรคปอดบวม
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
โรคปลายประสาทอักเสบ
ต่อมพาราไธรอยด์ทำงานหนักเกินไป
5.ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูงส่งผลให้หัวใจเต้นผิดปกติ หรือหยุดเต้น
6.โรคกระดูกพรุน กระดูกอ่อนแอ ซึ่งมีความเสี่ยงที่จะกระดูกหักได้ง่าย
อาการเเละอาการเเสดง
ทฤษฎี
การเปลี่ยนแปลงทางเมตาบอลิซึม (metabolic alteration)
BUN, Creatinine มีค่าสูงขึ้น
มีการคั่งค้างของยูเรีย ทําให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน ท้องเดิน ชัด ยู เรียที่คั่งค้างมากจะซึมออกมาเป็น
การเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและหลอดเลือด ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย จะมีความผิดปกติในระบบหัวใจและหลอดเลือดรวมถึงความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง หัวใจล้มเหลว เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
โซเดียม ในระยะแรกๆผู้ป่วยมักมีโซเดียมในเลือดต่า เนื่องจากมีภาวะ ปัสสาวะออกมากอาเจียนหรือท้องเสีย
โปตัสเซียม ระดับโปตัสเซียมจะสูงได้ในผู้ป่วยที่มีอัตราการกรองของ ไตลดลงต่ำกว่า 10-15 มล./นาที มีอาการคือ หัวใจเต้นผิดจังหวะ ชีพจรช้า กล้ามเนื้อ อ่อนแรงโดยเฉพาะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ถ้ารุนแรงอาจ มีอันตรายถึงชีวิต
แคลเซียมและฟอสเฟต เมื่ออัตราการกรองของไตลดต่ำลงกว่า 30-50 มล./นาทีจะทําให้มีการกรองฟอสเฟตออกจากไตลดลง มีอาการคือ อาการชา ชัก ความดันโลหิตต่า หัวใจเต้นผิดปกติ
แมกนีเซียม ผู้ป่วยอาจมีภาวะแมกนีเซียมาจากการไม่ได้รับสารอาหาร เพียงพอ ผู้ป่วยจะมีอาการไม่รู้สึกตัว หยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินหายใจ ปัญหาระบบทางเดินหายใจในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ได้แก่ ปอดบวม การติดเชื้อในปอด เยื่อหุ้มปอดอักเสบและเยื่อหุ้มปอดไหล
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำในร่างกาย ผู้ป่วยไตวายจะพบว่ามีอาการขาดน้ำ หรือมีภาวะน้ำเกิน
การเปลี่ยนแปลงสมดุลกรด-เบสจากกระบวนการเผาไหม้ อาหารในร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงของระบบเลือด
โลหิตจาง
มีการสร้างอีริโธปอยอิติน (erythropoietin) ลดลง ท าให้การผลิตเม็ด เลือดแดงน้อยลง
ภาวะเลือดออกง่าย เนื่องจากเกล็ดเลือดมีประสิทธิภาพในการทางาน ลดลง ปริมาณเกล็ดเลือดน้อยลงจากภาวะยูรีเมีย ทำให้เลือดแข็งตัวช้า ส่งผลให้เลือดออกง่าย
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินอาหาร
อาการ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ลิ้นมีรสเผื่อน ท้องผูก มีการหลั่ง กรดในกระเพาะอาหารเพิ่มขึ้น ทําให้เกิดการอักเสบของกระเพาะอาหาร และมีแผลในล่าไส้
การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท
ความผิดปกติในระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่ ไม่มีสมาธิ เฉื่อยชา พูด ช้า หลงลืมง่าย ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ หงุดหงิดง่าย ซึมลง ชัก และหมดสติ ความผิดปกติในระบบประสาทส่วนปลาย และระบบประสาทอัตโนมัติ ได้แก่ ความผิดปกติของประสาทส่วนปลายมีอาการชา กล้ามเนื้ออ่อนแรง ตะคริว ต่อมเหงื่อทางานลดลง
การเปลี่ยนแปลงของระบบผิวหนัง
ผิวสีเหลืองปนเทา ซีด มีสารยูโรโครม (urochrome) และมีเกลือยูเรีย (uremic forst) มีเล็บ และเส้นผมเปราะบางและฉีกขาดง่าย
การเปลี่ยนแปลงของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
มีการหลั่งฮอร์โมนพาราไทรอยด์มากขึ้น ทําให้ระดับแคลเซียมในเลือด ค่าส่งผลให้เกิดกระดูกผุ หรือกระดูกพรุน
การเปลี่ยนแปลงของระบบต่อมไร้ท่อ
การทำางานของกล้ามเนื้อตาผิดปกติจากการเปลี่ยนแปลงของระบบ ประสาท อาจพบความพิการของดาร่วมด้วย
การเปลี่ยนแปลงของดวงตา
ตาแดง ตามัว เกิดเนื่องจากมีแคลเซียมไปเกาะ ที่เยื่อบุตา หรือที่กระจกตา เกิดการระคายเคือง
กรณีศึกษา
มีอาการบวมที่ขา Pitting Edema 2+ เเละมีภาวะโลหิตจาง ร่วมกับภาวะของเสียคลั่งในร่างกาย มีการเปลี่ยนเปลงที่ระบบประสาท ซึท สับสน
การรักษา
ทฤษฎี
การปลูกถ่ายไต (kidney transplantation: KT) คือการนำไตใหม่มาปลูก ถ่ายไว้ที่ผนังหน้าท้องของผู้ป่วย เพื่อทําหน้าทีแทนไตเก่าที่เสื่อมสภาพ
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (hemodialysis) ขบวนคารนำเลือดของ ผู้ป่วยเข้าสู่เครื่องไตเทียม โดยเลือดที่ออกจากผู้ป่วยจะผ่านตัว ครอง(hemodialyzer) เพื่อแลกเปลี่ยนน้ำสารต่างๆที่ละลายอยู่ในเลือด และน้ำยาด้วยกระบวนการออสโมสิส และอัลตร้าฟิลเตรชั่น ใช้เวลา 4-5 ชั่วโมงต่อรอบก่อนนำเลือดที่ได้รับการฟอกแล้วกลับเข้าสู่ร่างกาย
การล้างไตทางช่องท้อง (peritoneal dialysis : PD) คือการขจัดของเสีย ออกจากร่างกายโดยการใส่น้ำยาเข้าไปในช่องท้องทิ้งไว้ 4-6 ชั่วโมงต่อ รอบ น้ำยาจะทําการกรองของเสียออกจากเลือดผ่านเยือบุช่องท้องก่อน ปล่อยน้ำยาจากช่องท้อง
กรณีศึกษา
คนไข้รับการรักษาด้วยการฟอกเลือด ผ่านทางบริเวณลำคอ
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 66ปี วินิฉัยโรคเป็น CKD stage5 with Hypoglycemia
โรคไตเรื้อรังระยะที่ 5 เเละ มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ประวัติเจ็บป่วยปัจุบัน ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน10ปีก่อนรับยากินไม่ขาดยา
8วันก่อนมามีอาการบวมอ่อนเพลีย เข้ารับการรักาาที่โรงพยาบาลชัยบาดาล เเพทย์ทำการตรวจวินิจฉัยโรคพบว่าเป็นโรคไต เเพทย์พิจารณาส่งตัวเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช
ยาที่ได้รับ เเละผลข้างเคียง
carvedilol 12.5mg 1/2TABช่วยให้หัวใจเต้นช้าลง รักษาความดันโลหิตสูง ผลข้างเคียง อ่อนเพลีย หน้ามืด ท้องเสีย น้ำหนักขึ้น
Amlodipine รักษาความดันโลหิตสูง ผลข้างเคียง บวมตามมือเท้า ปวดศรีษะ เหนื่อยง่าย ซึม มึนงง ผื่นขึ้นตามใบหน้า
lasix 500mg 1/2 TABรักษาความดันโลหิตสูงเเละขับน้ำส่วนเกินออก
ผลข้างเคียง หอบเหนื่อย หนาวสั่น ไข้สูง เหนื่อยออ่อนเเรง คัน
folic acid TAB.5mg บำรุงเลือด ผลข้งเคียง เบื่ออาหาร เรอ ท้องอืด
ขมปาก รับรสเปลี่ยน
ferrous fumarate 200mg TAb เป็นยาเสริมธาตุเหล็ก ผลข้างเคียง ปวดท้อง ท้องผูก ท้องเสีย เบื่ออาหาร
ผลเเล็ป
HCT23.6ต่ำ% Hb7.9g/dl ต่ำ RBC 2.86m/ulต่ำ เกิดจากผู้ป่วยเป็นโรคไตส่งผลต่อฮอร์โมน erythropoietin ที่กระตุ้นไขกระดูกในการสร้างเม็ดเลือดเเดง สร้างได้น้อยลง
urine 567 mg/dl สูงเกิดจากเป็นโรคไตเเลโรคเบาหวานร่วมด้วย ทำให้ไม่สามารถกักเก็บโปรตีนได้หมด โปรตีนจึงรั่วไหลผ่านทางปัสสาวะ
Creatinine 7.77 mg/dl สูง eGFR 4.5 ml/min/1.73n BUN 96 mg/dl สูง มีภาวะของเสียคั่งเนื่องจากประสิทธิภาพในการกรองเเละขับสารพิษออกลดลง
NA 112ต่ำ, Cl 83ต่ำ, ,CA 6.4ต่ำ, มีภาวะน้ำเกินจากโรคไตเรื้อรัง