Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Subarachnoid hemorrhage, เสี่ยง IICP, ปัจจัยเสี่ยงของหลอดเลือดสมองโป่งพองม…
Subarachnoid hemorrhage
พยาธิสภาพ
เมื่อหลอดเลือดดำที่สมองฉีกขาดจะทำให้เกิดการไหลซึมเข้าสู้ช่องว่างในชั้น Subarachnoid เลือดที่ออกจะระคายเคืองต่อเยื่อหุ้มสมองและเนื้อเยื่อประสาทเกิดปฏิริยาการอักเสบ มีความดั่นในกระโหลกศีรษะสูง และเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
เลือดที่ออกเบียดเนื้อเยื่อสมอง มีการสร้าง granulation tissue และรอยแผลเป็นที่เยื้อหุ้มสมองร่วมกับไม่สามารถดูดซึมน้ำไขสันหลังกลับไม่ได้หมด จึงเกิดภาวะ hydrocephalus ตามมา อาจพบเนื้อสมองตาย
อาการและอาการแสดง
-
-
-
-
อาการอื่น ๆ คล้ายโรคหลอดเลือดสมอง เช่น พูดไม่รู้เรื่อง
สื่อสารไม่ได้ ตัวชา หรือเป็นอัมพาตครึ่งซีก เป็นต้น
-
สาเหตุ
-
-
ความดันโลหิตสูง
ระดับความดันโลหิตซิสโตลิก (systolic blood pressure, SBP) ≥ 140 มม.ปรอท และ/หรือ ความดันโลหิตใดแอสโตลิก (diastolic blood pressure,
DBP) ≥ 90 มม.ปรอท
-
ภาวะแทรกซ้อน
•หัวใจ อาจเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว มีอาการหัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ มีอาการขาบวม
• ไต อาจเป็นโรคไตเรื้อรัง มีอาการขาบวม ซีด ผิวแห้ง
• สมอง อาจเป็นโรคหลอดเลือดสมอง อาการที่แสดงออก คือ มีอาการปากเบี้ยว อ่อนแรงครึ่งซีก ชาครึ่งซีก หรืออาจมีภาวะสมองเสื่อม
• ตา อาจเกิดความผิดปกติที่จอประสาทตา
-
-
-
โรคหลอดเลือดไฟโบรมัสคูลาร์ ดิสเพลเชีย (Fibromuscular Dysplasia) ซึ่งทำให้หลอดเลือดสมองตีบแคบลง หรือ โรคหลอดเลือดสมองอุดตันโมยาโมยา (Moyamoya Disease)
ชนิด
-
Subacute subdural hematoma เกิด 48 ซม.-2 สป.หลังบาดเจ็บอุบัติเหตุ หมดสติในตอนแรกและค่อยดีขึ้นต่อมาอาการแย่ลงรูม่านตารยาย หนังตาตก
Chronic Subdural Hematoma เกิดภายหลังมากกว่า 20 วันหรือหลังการได้รับบาดเจ็บ จะพบบ่อยในผู้สูงอายุ สมองเริ่มจะฝ่อ ทำให้เส้นเลือดที่ห้อยจากกระโหลกมายังสมองฉีกชาดเลือดที่ออกจะ ค่อยๆไหลที่ละน้อยโดยที่ไม่มีอาการ จนกระทั่งมีเลือดมากพอจึงกดสมอง ปัจจัยเสี่ยงดังต่อไปนี้ ดื่มสุราเรื้อรัง โรคลมชัก รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด
-
แผนการรักษา
-
•Observe Neuro Sign q 4 hr.
• ดูแลให้ยา Dilantin 250 mg./5ml IV.+ Nss 100 ml.
• Observe Pain q 4 hr.
• ดูแลให้ยา Transamin 250 mg./5ml.IV
• ดูแลให้ Vit K 10 mg. IV q 24 hr.
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 29 ปี
CC; สลบ จำเหตุการณ์ไม่ได้ 30 นาที ก่อนมา รพ.
PI; 30 นาที ก่อนมาโรงพยาบาล ขับมอเตอร์ไซค์ชนกระบะ ศีรษะและคางกระแทกพื้น เจ็บบริเวณ ศีรษะ หัวไหล่ ข้อมือ ข้อศอก มีแผลที่หางคิ้ว ขนาด 3x1 cm หัวไหล่ด้านซ้าย ขนาด 4x1 cm. ข้อมือขวา 3x1 แผลถลอกข้อศอกขวา ขนาด 3x2 cm.ลักษณะเป็นแบบ Opened Wound จำเหตุการณ์ไม่ได้
Hx; ปฏิเสธโรคประจำตัว ดื่มสุราและสูบบุหรี่มา 5 ปี
-
-
ปัจจัยเสี่ยงของหลอดเลือดสมองโป่งพองมีได้หลายสาเหตุ เช่น อายุ 40 ปีขึ้นไป เพศหญิง
ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ มีไขมันในเลือดสูง
ดื่มแอลกอฮอล์
-
•การตรวจหลอดเลือดด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRA)
• การตรวจหลอดเลือดด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CTA)
• การฉีดสารทึบรังสีเพื่อตรวจสอบหลอดเลือด
-
อายุ เชื้อชาติ ประวัติครอบครัว กรรมพันธุ์โรคอ้วน พฤติกรรม การสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์อย่างหนัก อาหารที่มีโซเดียมสูง อาหารที่มีโพแทสเซียมต่ำ ความเครียด โรคเรื้อรังบางชนิด เช่นโรคไต เบาหวาน ภาวะหยุดหายใจ และการตั้งครรภ์
-
ความดันโลหิตสูงจะทำให้เกิดหลอดแข็งและตีบ เมื่อหัวใจบีบตัว หัวใจจะบีบเลือดไปยังหลอดเลือดแดง ทำให้เกิดความดันโลหิตซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจ และแรงต้านทานของหลอดเลือด หัวใจคนเราเต้น 60-100 bpm ความดันก็จะเพิ่มขณะที่หัวใจบีบตัว และลดลงขณะที่หัวใจคลายตัว
-
-
-
-
-
-
-
-