Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน - Coggle Diagram
การวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
รายละเอียดของแผน (Plan)
วัตถุประสงค์ คือ การระบุถึงผลที่ต้องการบรรลุ
นโยบาย คือ แนวทางการดำเนินงาน
เป้าหมาย คือสิ่งที่บอกว่าจะทำเท่าใด ให้เกิดคุณภาพอย่างไร
วงเงิน คือ งบประมาณที่ใช้
มาตรการหรือกลยุทธ์ คือ สิ่งที่บอกถึงวิธีการที่จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์
ความหมาย
การที่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลเข้าร่วมในกระบวนการตัดสินใจในการกำหนดสิ่งที่จะนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน โดยระบุวัตถุประสงค์ กิจกรรม ทรัพยากร ผู้รับผิดชอบ และการประเมินผล
ความสำคัญของการวางแผน
เป็นเครื่องมือในการประสานงานที่ดี
ป้องกันการทำงานแบบเดาสุ่ม
การบริหารงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
เพิ่มประสิทธิภาพของการทำงาน
ทราบว่าจะมุ่งไปในทางใด ช่วยให้งานดำเนินการไปอย่างรวดเร็ว
เข้าใจวัตุประสงค์ขององค์การได้ดีขึ้น
ช่วยให้เกิดการทำงานเป็นกลุ่ม
ประเภทของแผน
แบ่งตามระยะเวลา
แผนระยะสั้น
ปฏิบัติการไม่เกิน 2 ปี
แผนระยะกลาง
ระยะเวลาระหว่าง 3-5 ปี
แผนระยะยาว
ระยะเวลาเกิน 5 ปี
แบ่งตามสถานที่
แผนระดับชาติ
แผนระดับภาค
แผนระดับจังหวัด
แผนระดับอำเภอ
แผนระดับตำบล
แบ่งตามสายงาน
แผนระดับชาติ
แผนระดับกระทรวง
แผนระดับกรม/สำนักงาน/องค์กร
แผนระดับกองหรือแผนระดับฝ่าย
แบ่งตามหลักเศรษฐศาสตร์
แผนมหภาค (Macro Plan)
แผนรายสาขา (Sectoral Plan)
แบ่งตามเหตุการณ์
แผนป้องกันน้ำท่วม
แผนป้องกันอัคคีภัยแผนป้องกันเหตุ
แผนป้องกันสาธารณภัย
การวางแผนดำเนินงานแก้ไขปัญหาชุมชน
การจัดทำแผนเพื่อดำเนินงานสุขภาพในชุมชน
1.ช่วยกำหนดขอบเขตและบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรในทีมงานสุขภาพให้เป็นไปอย่างเหมาะสม
ช่วยกำหนดทิศทางการทำงานได้แก่การกำหนดวัตถุประสงค์กลวิธีและกิจกรรมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
ช่วยในการประสานงานในการแก้ไขปัญหาระหว่างทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้องให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วยควบคุมการดำเนินงานแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนให้เป็นไปอย่างมีระบบระเบียบมีความต่อเนื่อง
ช่วยควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์จะอยู่ในเวลาที่กำหนด
ช่วยควบคุมการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การวางแผนแม่บท
โดยเทคนิคกระบวนการวางแผน
แบบมีส่วนร่วม (A-I-C)
ขั้นตอนการสร้างความรู้ (Appreciation : A)
ขั้นตอนการเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ขั้นตอนนี้จะเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมทุกคน แสดงความ คิดเห็น รับฟังและหาข้อสรุปร่วมกันอย่างสร้างสรรค์เป็นประชาธิปไตย ยอมรับในความคิดของเพื่อนสมาชิก
2 ขั้นตอนการสร้างแนวทางการพัฒนา (Influence : I)
ขั้นตอนการหาวิธีการและเสนอทางเลือกในการพัฒนา ตามที่ได้สร้างภาพพึงประสงค์ หรือที่ได้ช่วยกันกำหนด วิสัยทัศน์ เป็นขั้นตอนที่จะต้องช่วยกันหามาตรการ วิธีการ และค้นหาเหตุผลเพื่อกำหนดทางเลือกในการพัฒนา กำหนดเป้าหมาย กำหนดกิจกรรม และจัดลำดับความสำคัญของกิจกรรม
ขั้นตอนการสร้างแนวทางปฏิบัติ (Control : C)
ยอมรับและทำงานร่วมกันโดยนำเอาโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ มาสู่การปฏิบัติ และจัดกลุ่มผู้ดำเนินการ ซึ่งจะรับผิดชอบโครงการ
เพิ่มเติม : เอกสารเทคนิคการทำ A-I-C
การวางแผนงานย่อยหรือโครงการ (Sub Plan)
จะช่วยให้แผนปฏิบัติการในการแก้ปัญหามีความละเอียดมากขึ้น
จะต้องมีการกำหนดเป้าหมายในการดำเนินกิจกรรม (Goal) หากทำการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของปัญหาได้อย่างละเอียดแล้ว จะทราบถึงความสามารถในการแก้ปัญหาว่ามากน้อยเพียงใดแล้วนำไปตั้งเป้าหมาย
องค์ประกอบย่อยของการเขียนแผนงานย่อยหรือโครงการ
ชื่อโครงการ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
วิธีดำเนินการ
7.ระยะเวลาดำเนินการ
สถานที่ดำเนินการ
งบประมาณ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ