Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดด้วย EMDR - Coggle Diagram
การบำบัดด้วย EMDR
วิธีการ
- การเตรียมตัวสร้างความ มั่นคงทางจิตใจ
ผู้รับบริการจะได้เรียนรู้เทคนิคต่างๆ เกี่ยวกับการสร้างความมั่นคงทางใจ เพื่อมีหนทางจัดการกับความรู้สึกยากๆได้ด้วยตัวเอง
ผู้รับบริการจะระบุเหตุการณ์ หรือความทรงจำในอดีต โดยจะสำรวจไปที่ความเชื่อด้านลบ อารมณ์ความรู้สึก และการรับรู้ทางกายที่รบกวน เมื่อผู้รับบริการนึกถึงเหตุการณ์นั้น
-
เริ่มทำการเคลื่อนไหวตาเป็นชุดๆ และจะขอผู้รับบริการนึกถึงเหตุการณ์ขณะที่เคลื่อนไหวดวงตา จะช่วยปลดปล่อยความทรงจำในอดีตและคลี่คลายไปในทางบวก
หลังจากจบชั่วโมงการบำบัดในครั้งที่ผ่านมาช่วงนี้เป็นการตรววจสอบความทรงจำอดีตว่ายังมีอิทธิพลกับผู้รับบริการหรือไม่ขั้นตอนนี้จะช่วยให้นักจิตบำบัดทำการประเมินเพื่อปรับแผนวิธีการบำบัดต่อไป หากผู้รับบริการเห็นว่าปัญหาที่นำได้คลี่คลายแล้วสามารถจบบริการได้
-
นักจิตบำบัดจะขอให้ผู้รับบริการนึกถึงเหตุการณ์ตั้งต้นพร้อมกับสำรวจความรู้สึกทั่วร่างกายสังเกตถึงความผ่อนคลาย
ผู้รับบริการจะรู้สึกดีขึ้นมากเมื่อเทียบกับช่วงแรกๆ และออกจากห้องไปด้วยความรู้สึกบวกกับตนเอง นักจิตบำบัดจะขอให้ผู้รับบริการบันทึกความคิด ความรู้สึก หรือความฝันในระหว่างสัปดาห์ก่อนที่จะมาพบกันอีกครั้ง
แนวคิด
- Assessment and Preparation
- ระบุอาการทางด้านร่างกายที่สัมพันธ์กับความวิตกกังวล
- ประเมินระดับความวิตกกังวลโดยใช้สเกล SUDs 0-10
- ระบุถึงความเชื่อผิดๆ ที่สัมพันธ์กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
- ให้ผู้รับการบำบัดปรับเปลี่ยนความเชื่อ
- ประเมินเพื่อให้ทราบว่า traumatic image/memory ทำให้เกิดความกังวลหรือเศร้าหดหู่
- หยุดคิดชั่วคราว หายใจอย่างลึก
-
- ให้ผู้รับการบำบัดจินตนาการถึงเหตุการณ์ฝังใจอีกครั้ง
- คิดถึงความเชื่อที่ปรับไปในทางที่ดี เพื่อให้ภาพในจินตนาการไม่ก่อให้เกิดความตึงเครียดและความเชื่อที่ไม่ถูกต้อง
หลักการ
การนำเทคนิคด้านจิตบำบัดเข้าไปจัดการกับการทำงานของระบบประสาทและสมองส่วนหน้า ส่วนกลางและส่วนในที่เป็นตัวสื่อสารข้อมูลไปในระบบการทำงานของสมองส่วนอื่นๆ รวมทั้งสมองส่วนที่เก็บความทรงจำ หากมีความทรงจำอันเลวร้ายติดค้างหรือซ่อนเอาไว้ก็จะสามารถจัดการปลดล็อคได้
เป็นวิธีการรักษาที่แนะนำสำหรับโรคความเครียดหลังเหตุการณ์สะเทือนใจ (PTSD) ใช้หลักการเคลื่อนไหวตาทั้งสองข้างย้ายกลับไปมา 7-8 ครั้ง ต่อ 1 ชุด ประมาณ 30 วินาที่ ซึ่งทำหลายชุดในชั่วโมงการบำบัด วิธีการนี้ไม่ใช่การสะกดจิต ผู้รับบริการมีสติรู้ตัวตลอดการบำบัด
นักจิตบำบัดจะขอให้ผู้รับบริการเคลื่อนไหวตาตามนิ้วของนักจิตบำบัดที่เคลื่อนย้ายไปมา หลักการนี้เป็นการทำงานกับสมอง 2 ซีกคือสมองซีกซ้าย ทำให้มีสติรู้ตัว สมองซีกขวาทำให้เชื่อมโยงกับอารมณ์ ความทรงจำในอดีต ซึ่งการเคลื่อนไหวดวงตาซ้ำๆเป็นการทำงานกับสมองส่วนความทรงจำที่แช่แข็งไว้ให้เกิดการประมวลผลข้อมูลใหม่ในทิศทางบวก