Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ, น.ส. รัญชิดา เขียวเล็ก เลขที่ 13 - Coggle…
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
หลังจากที่ได้เก็บหรือรวบรวมข้อมูลและดำเนินการจัดระเบียบข้อมูลให้อยู่ในสภาพที่
เรียบร้อยพร้อมที่จะนำไปวิเคราะห์ได้แล้ว งานในขั้นต่อไปของผู้วิจัยคือการตัดสินใจว่าจะนำสถิติอะไร
มาใช้ ซึ่งในการนี้ผู้วิจัยจะต้องทราบตั้งแต่แรกว่าข้อมูลที่มีอยู่ในลักษณะใดและต้องการเสนอผลการ
วิเคราะห์อะไร
ความหมายของสถิติ
ค าว่าสถิติ (Statistics) มาจากภาษาเยอรมันว่า Statistics มีรากศัพท์มาจาก Stat หมายถึง
ข้อมูลหรือสารสนเทศ ซึ่งจะอ านวยประโยชน์ต่อการบริหารประเทศในด้านต่างๆ เช่น การท า
ส ามะโนครัวเพื่อจะทราบจ านวนพลเมืองในประเทศทั้งหมด ในสมัยต่อมา ค าว่า สถิติ ได้หมายถึง
ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม เช่น จ านวนผู้ประสบอุบัติเหตุบนท้องถนน อัตราการเกิด
ของเด็กทารก ปริมาณน้ าฝนในแต่ละปี เป็นต้น สถิติในความหมายที่กล่าวมานี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
ข้อมูลทางสถิติ(Statistical data)
สมมติฐาน ( Hypothesis ) มี 2 ชนิด คือ สมมติฐานทางการวิจัย (Research hypothesis)
กับสมมติฐานทางสถิติ (Statistical hypothesis) การวิจัยบางเรื่องอาจไม่มีสมมติฐานการวิจัยก็ได้
ส่วนที่ มีสมมติฐานมักเป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร เช่น ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความ
ถนัดทางการเรียนกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นต้น หรือเป็นการวิจัยที่อยู่ในลักษณะที่เป็นการ
เปรียบเทียบ เช่น ความมีวินัยในตนเองระหว่างนักเรียนที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูด้วยวิธีต่างกัน
กระบวนการทดสอบสมมติฐาน จะช่วยผู้วิจัยในการตัดสินใจสรุปผลว่ามีความสัมพันธ์กัน
ระหว่างตัวแปรจริงหรือไม่ หรือช่วยใจการตัดสินใจเพื่อสรุปผลว่าสิ่งที่น ามาเปรียบเทียบกันนั้น
แตกต่างกันจริงหรือไม่ ส าหรับหัวข้อส าคัญที่จะกล่าวถึงคือ ความหมายของสมมติฐาน ประเภทของ
สมมติฐาน ขั้นตอนการทดสอบสมมุติฐาน ชนิดของความคลาดเคลื่อน ระดับนัยส าคัญ และการ
ทดสอบสมมุติฐานแบบมีทิศทางและแบบไม่มีทิศทาง
การสร้างรหัสส่าหรับตัวแปร
โดยปกติในการวิจัย ผู้วิจัยจะออกแบบการวิจัยโดยกำหนดตัวแปรไว้ตั้งแต่ก่อนการเก็บ
รวบรวมข้อมูลแต่ถ้าเป็นข้อมูลที่มีการรวบรวมเพื่อประมวลผลเพื่อวัตถุประสงค์ใดประสงค์หนึ่งอาจ
ไม่ได้ก าหนดตัวแปรไว้ล่วงหน้าก็ได้ ดังนั้นเมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว จะต้องก่าหนดตัวแปรหรือ
ารหัสของตัวแปร การก าหนดชื่อตัวแปรนั้นจะต้องกำหนดทั้งข้อมูลที่เป็นเชิงคุณภาพและเชิง
ปริมาณ ส่วนการให้ค่ารหัสนั้นมักจะใช้กับตัวแปรเชิงคุณภาพ เช่น เพศ อาชีพ ศาสนา วุฒิการศึกษา
เป็นต้น ส่วนตัวแปรเชิงปริมาณก็ใช้ค่าที่ได้จากการเก็บรวบข้อมูลจริง เช่น อายุ ก็จะใส่ค่ารหัส ตาม
อายุจริงที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลมา ยกเว้น แต่มีการกำหนดช่วงอายุหรือจัดกลุ่มอายุไว้ตั้งแต่
ก่อนการเก็บข้อมูล ในลักษณะอย่างนี้จ าเป็นต้องก าหนดค่ารหัสเช่นกัน
ในบางครั้งการก าหนดตัวแปรหรือก าหนดรหัสจะท าควบคู่กับเครื่องมือการวิจัย ซึ่งค าถาม 1
ค าถาม จะสามารถสร้างตัวแปรได้อย่างน้อย 1 ตัวแปร และค่าของตัวแปรที่ได้ก็คือข้อมูลนั่นเอง
สามารถแสดงตัวอย่างการก าหนดตัวแปรและการให้ค่ารหัสตัวแปรจากแบบสอบถาม
น.ส. รัญชิดา เขียวเล็ก เลขที่ 13