Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎี - Coggle Diagram
ทฤษฎี
ทฤษฎีกลุ่มสังคมและวัฒนธรรม
อิทธิพลทางสังคมมีผลต่อพฤติกรรมของบุคคลหรือกลุ่ม
เชื่อว่าระบบสังคมและสัมพันธภาพของ
บุคคลในสังคม มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดปัญหาทางสุขภาพจิต
.เป็นที่มาของนิเวศน์บำบัด (Milieu Therapy)
Key Concept
ตัวตน (Self)
ความเบี่ยงเบน (Deviance)
สังคมตีตราหรือประทับตรา (Label)
ภาวะวิกฤตสามารถทำให้บุคคลแสดงพฤติกรรมเบี่ยงเบนได้
ผู้มีบทบาทสำคัญ
จอร์จ มีด
(George Mead)
โทมัส ซาสซ์ (Thomas Szasz)
เจอรัลด์ แคพแพลน (Gerald Caplan)
ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม
Abraham Maslow
ความเชื่อเบื้องต้นเกี่ยวกับมนุษย์
มีความสามารถ
รักตนเองและต้องการความรัก
ต้องการการตอบสนอง
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์
ขั้นที่ 1) ความต้องการทางร่างกาย (Physiological needs)
ขั้นที่ 2) ความต้องการความปลอดภัย (Safety / security needs)
ขั้นที่ 3) ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
(Belongingness and Love needs)
ขั้นที่ 4) ความต้องการได้รับความนับถือยกย่อง (Self-Esteem needs)
ขั้นที่ 5) ความต้องการที่จะเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง (Self-Actualization
needs)
Key Concept
ความต้องการของมนุษย์นั้นมี 5 ขั้นตอน
การทำความเข้าใจพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์
เกิดจากไม่ได้รับการ
ตอบสนองความต้องการขั้นต้นๆ
อาจเกิดความล้มเหลวในการพัฒนาตนเองในขั้นถัดไป
แนวทางการบำบัดรักษาตามแนวคิด
เรียนรู้ที่จะเริ่มต้นชีวิตจากขั้นต่ำสุด
ให้ค่อยๆไต่บันไดขึ้นไปทีละขั้นใหม่
การประยุกต์ใช้ทฤษฎี
Carl R.Rogers
Person-Centered Thory
การทำความเข้าใจมนุษย์และพฤติกรรมของมนุษย์
มีเสรีภาพในการเลือกทางเดินของตน
มุ่งบรรลุภาวะสัจจการแห่งตน (Self - actualization)
Self - Concept
ตนที่แท้จริง
ตนตามอุดมคติ
ตนที่คิดว่าตนเป็น/ตนตามการรับรู้
The Development of Self-Concept
ระยะที่มีอิทธิพลมากที่สุดคือวัยเด็กตอนต้น (Early childhood)
ส่วนใหญ่มาจากการเลี้ยงดูของพ่อแม่
สิ่งสำคัญคือ การสร้างให้บุคคลเกิด congruence ในตนเอง
เงื่อนไขหลัก (Core condition)ของสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
Congruence
แสดงออกที่สอดคล้องกับความคิด
Empathy
สร้างความรู้สึกปลอดภัย
ไว้วางใจ
Empathy ไม่ใช่ Sympathy (ความรู้สึกเช่นเดียวกับผู้ป่วย)
Unconditional positive regard
เคารพในความคิด ความรู้สึก และ
การแสดงออกของเขา
ทฤษฎีกลุ่มปัญญานิยม
Cognitive theory : Aaron T .Beck
ให้ความสำคัญกับความคิดความเชื่อว่ามีอิทธิพลต่อความรู้สึกและการกระทำของมนุษย์
ทฤษฎีทางปัญญาของเบค (Beck’s Cognitive Theory)
โดยมีความเชื่อว่าภาวะซึมเศร้าเกิดจากการแปลความหมายของสิ่งต่างๆ ไปในทางลบ
ทฤษฎีทางปัญญาจ าแนกปัญญาออกเป็น 3 ชนิด
ผู้ริเริรมทฤษฎีทางปัญญา และการบำบัดพฤติกรรมทางปัญญา Cognitive-Behavioral Therapy : CBT
Rational emotive behavior theory :
Albert Ellis
ทฤษฎีการบำบัดแบบเน้นเหตุผลอารมณ์และพฤติกรรม (Rational-Emotive Behavior Therapy: RET)
เอลลิส อธิบายกระบวนการเกิดความคิดที่ไม่สมเหตุสมผลในรูปแบบ A-B-C
สอนให้บุคคลหยุด การตำหนิตนเองและยอมรับตนเองอย่างที่เป็นตนเองซึ่งมีข้อบกพร่อง ไม่สมบูรณ์แบบ