Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประโยชน์ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการสื่อสารข้อมูล,…
ประโยชน์ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
การใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการสื่อสารข้อมูล
1.สัญญาณข้อมูล
สัญญาณดิจิตอล
สัญญาณที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง
มีขนาดแน่นอนคือ สัญญาณระดับสูงสุดและสัญญาณระดับต่ำสุด
เป็นสัญญาณที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการทำงาน
ติดต่อสื่อสารกันเป็นค่าของเลขลงตัว คือ "0" และ "1"
ข้อดีในการทำให้เกิดความผิดพลาดน้อยลง
สัญญาณอนาล็อก
สัญญาณข้อมูลแบบต่อเนื่อง มีขนาดของสัญญาณไม่คงที่
มีลักษณะเป็นเส้นโค้งต่อเนื่องกันไป
ถูกรบกวนให้มีการแปลความหมายผิดพลาดได้ง่าย เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์
2.สื่อกลางในการส่งผ่านข้อมูล
สื่อกลางแบบใช้สาย
เช่น สายนำสัญญาณไฟฟ้าและเส้นใยนำแสง เป็นตัวส่งข้อมูล โดยอุปกรณ์ปลายทางจะตรวจจับสัญญาณแล้วแปลงเป็นข้อมูล
สื่อกลางแบบไร้สาย
อินฟาเรด ใช้สื่อสารระยะใกล้โดยไม่มีสิ่งกีดขวาง เช่น คอมฯกับเม้าส์ไร้สาย
คลื่นวิทยุ ใช้เป็นสื่อกลางได้ทั้งระยะใกล้และไกล ใช้คลื่นวิทยุในแถบความถี่ต่างกันเป็นตัวส่งข้อมูล
ไมโครเวฟ ใช้สื่อสารระยะไกล ส่งข้อมูลในรูปคลื่นไมโครเวฟ โดยสัญญาณจะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง แต่เดินทางผ่านวัตถุที่กีขวางไม่ได้ แต่อัตราการส่งสูง แต่มีข้อจำกัด คือ จะถูกรบกวนจากพายุและฝน
อุปกรณ์ควบคุมระยะไกล
1.รีโมตอินฟราเรด
ส่วนประกอบ
แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ iR transmitter microprocessor และหลอดLED
เช่น รีโมตโทรทัศน์
2.รีโมตคลื่นวิทยุ
เช่น กุญแจรีโมตรถยนต์ รีโมตควบคุมรถบังคับ
ข้อดี สามารถส่งสัญญาณได้ไกล 30.48 m ทะลุผนังและกระจกได้
ส่วนประกอบ
แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ส่งสัญญาณและอุปกรณ์ประมวลผล
เครื่องถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scanner)
ที่มา
พัฒนามาจากเครื่องเอ็กซเรย์ดิจิทัล
ลักษณะภาพ
เป็นภาพตัดขวางของลำตัวผู้ได้รับการตรวจ
หน่วยการทำงาน
หน่วยสแกน
หน่วยเก็บและประมวลผลข้อมูล
หน่วยแสดงผล
การทำงาน
1.เมื่อหลอดเอกซเรย์ (x-ray tube) ฉายรังสีเอกซ์ ทะลุ ทะลวงผ่านอวัยวะ(ที่ทำการตรวจ)ของผู้ป่วย และเข้ามายังอุปกรณ์รับรังสี หรือ หัววัดรังสีของเครื่องซีที (CT detector)
2.ขณะฉายรังสี เพื่อสร้างภาพในลักษณะภาพตัดขวาง หลอดเอกซเรย์และหัววัดรังสี จะหมุนเป็นวงกลม หรือหมุนแบบเกลียว (spiral or helical) รอบผู้ป่วยหรืออวัยวะที่ทำการตรวจ
เครื่องถ่ายภาพสั่นพ้องแม่เหล็ก (เครื่องเอ็อาร์ไอ)
ข้อดี
ใช้สนามแม่เหล็กและคลื่นวิทยุร่วมกับคอมพิวเตอร์ ทำให้เป็นอุปกรณ์บันทึกภาพเพื่อการวินิฉัยที่ปลอดภัยที่สุด
สร้างภาพเสมือนจริงของเนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่ละเอียดกว่าเครื่องซีที
สามารถตรวจได้ทุกทิศทุกระนาบโดยไม่ต้องหมุนผู้ป่วย
ส่วนประกอบ
แม่เหล็กกำลังสูง
ขดลวดสร้างแม่เหล็กค่าลดหลั่น
ขดลวดส่งและรับคลื่นวิทยุุ
คอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน
ใช้สนามแม่เหล็กและคลื่นวิทยุร่วมกับคอมพิวเตอร์
ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการสื่อสารข้อมูล
หรือรีโมตไออาร์ ใช้รังสีอินฟาเรดเป็นสื่อกลาง
หรือรีโมตอาร์เอฟ ใช้คลื่นวิทยุเป็นสื่อกลาง
น.ส.อัญญาณีย์ ผ่องใส เลขที่ 26 ม.4/1