Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Submucous Myoma IMG_3242, ยาที่ได้รับ - Coggle Diagram
Submucous Myoma
-
การตรวจร่างกาย
Inspection : มีแผลที่หน้าท้อง ไม่มีสารคัดหลั่งซึม แผลปิดด้วย Gauze ทับด้วย Fixomull stretch
Auscultation : Bowel sound 4/min
Palpation : ท้องไม่แข็งเกร็ง ไม่พบอวัยวะที่โตผิดปกติ
Percussion : -
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.ท้องอืดเนื่องจากการทำงานของลำไส้ลดลงจากการไม่ได้เคลื่อนไหวร่างกาย
S : “ผู้ป่วยบอกว่ายังไม่ถ่าย ผายลมและเรอแล้ว”
O : Bowel sound 4 ครั้ง/นาที
O : หน้าท้องอืดตึงเล็กน้อย
จุดมุ่งหมาย : มีภาวะท้องอืดลดลง
เกณฑ์การประเมิน :
1.ผู้ป่วยสามารถขับถ่ายได้ปกติ
- Bowel sound อยู่ในช่วงอยู่ในปกติ 6-12ครั้ง/นาที
3.หน้าท้องไม่อืดตึง
กิจกรรมการพยาบาล
1.กระตุ้นให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวร่างกายหลังผ่าตัด
2.แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย
3.ประเมินการเคลื่อนไหวของลำไส้ฟัง bowel soundและสังเกตลักษณะหน้าท้อง
2.ปวดแผลเนื่องเนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บ
S : “ปวดแผลแบบจี๊ดๆ”
S : pain score 5 คะแนน
O : มีแผลบริเวณหน้าท้อง
จุดมุ่งหมาย อาการปวดลดลง
เกณฑ์การประเมิน
1.ผู้ป่วยบ่นปวดเเผลลดลง
2.อาการปวดลดลง pain score 1-3 คะแนน
3.แผลที่หน้าท้องไม่มีการอักเสบ บวม แดง
กิจกรรมการพยาบาล
- ให้ยา paracetamol 500 mg ตามแผนการรักษา
- จัดท่านอนหัวสูง 45-90 องศา fowler position
- หากปวดมากให้จำกัดการเคลื่อนไหว
- เบี่ยงเบนความสนใจ ให้ผู้ป่วยทำสิ่งที่ชอบ เช่น อ่าน หนังสือธรรมะ
- ประเมินสัญญาณชีพ
- ติดตามประเมินผล pain score
- แนะนำให้ผู้ป่วยประคองแผลทุกครั้งเมื่อมีการไอจาม
อาการปัจจุบัน
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 65 ปี รู้สึกตัวดีพูดคุยรู้เรื่อง E4V5M6 ไม่มีอาการเหนื่อย รับประทานอาหารได้เองแต่กินได้น้อย ได้รับอาหารประเภทอาหารอ่อน มีแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง ลักษณะภายนอกแผลไม่มีสารคัดหลั่งซึม ผู้ป่วยบ่นปวดแผล ประเมิน pain score 5/10 คะแนน และ bowel sound 4 ครั้ง/นาที ปัสสาวะ 5 ครั้ง/วัน สีเหลืองใส ยังไม่ขับถ่ายตั้งแต่หลังผ่าตัดวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2567
V/S T : 37 °c , P : 94 time/min , RR : 20 time/min , BP : 130/70 mmHg
ผลตรวจพิเศษ
Surgical Pathology
Cilinical history : Post - menopausal bleeding
Pathological Diagnosis:
Endometrium, hysteroscopic dilated curettage : - Simple hyperplasia without atypia
Gross description : clotted blood , measuring 4 x 3 x 1.5 cm in aggregate
Myoma Uteri
อาการ
1.มีอาการปวดหน่วงตรงท้องน้อย หรือ บริเวณหลัง
2.คลำเจอก้อน
3.เนื่องจากมดลูกอยู่ด้านหลังกระเพาะปัสสาวะ ดังนั้น ก้อนเนื้อของมดลูกอาจทำให้เกิดการ ปัสสาวะเล็ด ปัสสาวะบ่อยขึ้น กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
4.มีอาการหน่วงท้องและท้องผูก เนื่องจาก ก้อนเนื้อกดลงบนลำไส้ใหญ่
การรักษา
1.ควรพบสูตินรีแพทย์ เพื่อรับการตรวจวินิจฉัย 2.หากเนื้องอกมดลูกยังมีขนาดเล็ก ต้องเฝ้าติดตามอาการ อาจรับการรักษาด้วยการใช้ยา 3.ตรวจติดตามด้วยการอัลตราซาวนด์ เพื่อติดตามขนาดของก้อนเนื้องอกเป็นระยะ โดยสูตินรีเเพทย์ อาจนัดตรวจทุก 3-6 เดือน
4.มีการวัดปริมาณเลือดที่ออก เเละควรได้รับการรักษาอาการโลหิตจาง หากมีภาวะโลหิตจาง 5.กรณีเนื้องอกในมดลูกส่งผลให้ผู้ป่วยเสียเลือดมาก จะใช้ยาเพื่อลดปริมาณการเสียเลือดเเละทำให้อาการทุเลาลง
6.หากเนื้องอกมีขนาดใหญ่ ควรได้รับการผ่าตัดเนื้องอกมดลูกออก
7.หากเนื้องอกมีการลุกลาม ขนาดใหญ่ และทำให้อวัยวะภายในเสียหาย อาจได้รับการผ่าตัดนำมดลูกออก ในกรณีที่ร้ายเเรงเเละไม่ต้องการมีบุตรเเล้ว
สาเหตุ
สันนิษฐานว่า ฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนจากรังไข่เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดเนื้องอกและพบว่า ก้อนเนื้องอกจะมีขนาดเล็กลงภายหลังหมดระดู
การวินิจฉัยโรค
1.การตรวจดูสูตินรีแพทย์ผู้ชำนาญการ 2.ตรวจอัลตราซาวด์ทั้งการตรวจทางหน้าท้องและการตรวจภายใน
3.ตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง CT SCAN หรือตรวจด้วยเครื่องสนามแม่เหล็กไฟ้ฟ้า MRI
4.ตรวจด้วยการส่องกล้องโพรงมดลูก
การวินิฉัยแรกรับ : Myoma uteri เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก
การผ่าตัด : TAH with BSO(เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2567)
การวินิจฉัยปัจจุบัน : Submucous Myoma (เนื้องอกในโพรงมดลูก)
ยาที่ได้รับ
1.Cefazolin 1g ทุก 6 ชั่วโมง
2.Mo 3 mg Oral pc ทุก 4ชั่วโมง
3.plasil 10 mg Oral pc ทุก 8 ชั่วโมง
4.onsia 8 mg
-