Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการให้คำปรึกษา รายกลุ่มเบื้องต้น - Coggle Diagram
หลักการให้คำปรึกษา
รายกลุ่มเบื้องต้น
ความหมาย
การช่วยเหลือสมาชิกเป็นกลุ่มที่มีความต้องการที่ตรงกันที่จะปรับปรุงและพัฒนาตนเองในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นการระบายความรู้สึกขัดแย้งในใจ มีการกําหนดเป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาทักษะต่าง ๆ เพื่อไปสู่เป้าหมาย
ลักษณะที่ต้องได้รับคำปรึกษา
ด้านการศึกษา
การปรับตัวเมื่อเปลี่ยนสถานศึกษาใหม่
ด้านอาชีพ
การปรับตัวสําหรับการทํางาน
ส่วนตัวและสังคม
การเจริญเติบโตและพัฒนาของวัยรุ่น
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการให้คําปรึกษารายกลุ่ม
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (psychoanalytical theory)
การจัดการกับความขัดแย้งภายในจติใต้สํานึก
ช่วยให้สมาชิกปลดปล่อยเรื่องที่ค้างคาใจ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (behaviorism theory)
ขจัดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ชี้แนะพฤติกรรมที่เหมาะสม
ทฤษฎีการบําบัดทางปัญญา (cognitive theory)
แก้ความคิดที่ทําให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
ให้ข้อมูลย้อนกลับอย่างตรงไปตรงมา
ทฤษฎีมนุษยนิยม (humanism theory)
ตระหนักถึงปัญหา มองเห็นแนวทางการแก้ปัญหา
กระตุ้นให้ตระหนักถึงปัญหาของตนเองและเลือกแนวทางการแก้ปัญหาด้วยตัวเอง
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
การเรียนรู้สัมพันธภาพที่เกิดขึ้น
ให้ตระหนักถึงความวิตกกังวลของสมาชิก
วัตถุประสงค์
ความเข้าใจในตนเองและสิ่งแวดล้อม
ความสามารถในการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพและเผชิญปัญหาได้ด้วยตัวเอง
เป้าหมาย
การให้สมาชิกแสดงออกถึงความคิดความรู้สึก และอารมณ์มีกระบวนการใน
การสํารวจตัวเอง ส่งผลให้สมาชิกสามารถพิจารณาทางเลือกในการแก้ปัญหาและเผชิญปัญหา
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการให้คําปรึกษารายกลุ่ม
1.ชนิดของกลุ่ม = คล้ายกัน ต่างกัน
2.ลักษณะการให้คำปรึกษา = กลุ่มปิด กลุ่มเปิด
3.การกำหนดจำนวนครั้ง และระยะเวลา = 1/5wk ความถี่ที่เหมาะ 2ครั้ง/wk ระยะเวลา 60-90hr.
4.การกำหนดขนาดกลุ่ม = 8-12 คน
สถานที่
เป็นสถานที่ที่เงียบสงบ มีความเป็นส่วนตัว ปราศจากเสียงดังรบกวน ปลอดภัย อากาศถ่ายเท
มีแสงสว่างเพียงพอ
การจัดที่นั่ง
ควรนั่งเป็นลักษณะวงกลม วงรี หรือรูปตัวยู
การบันทึก
การจดบันทึก การบันทึกภาพ การบันทึกเสียง
คุณลักษณะที่ดีของผู้ให้คําปรึกษารายกลุ่ม
มีความเข้าใจในตนเอง 6. มีเมตตา
มีความเห็นอกเห็นใจ 7. ความไวต่อความรู้สึก
ใจกว้าง 8. เป็นนักฟังที่ดี
มีการเปิดเผยตัวเอง 9.ท่าทีอบอุ่น
มีอารมณ์ขัน
บทบาทของผู้ให้คําปรึกษารายกลุ่ม
1.ผู้เอื้ออำนวย(facilitating) ทําหน้าที่ประนีประนอมหากเกิดความขัดแย้งภายในกลุ่ม
2.ผู้เชียวชาญทางสุขภาพ โดยผู้ให้คำปรึกษาต้องมีความรู้ด้านสุขภาพเป็นอย่างดีสามารถ
ผู้ปกป้องสิทธิของสมาชิกทั้งหมด โดยผู้ให้คําปรึกษาควรมีจริยธรรม ปกป้องไม่ให้มีการแบ่งแยกและกีดกัน
ขั้นตอนของการให้คำปรึกษารายกลุ่ม
1.ขั้นสร้างความสัมพันธ์ในกลุ่ม
2.ขั้นเปลี่ยนลักษณะของกลุ่ม
ขั้นดำเนินการ แก้ไขปัญหาร่วมกัน
ขั้นยุติสัมพันธภาพ
หลักการเบื้องต้นของการทำจิตบำบัด
จิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis)
มีความไม่สมดุลระหว่าง Id Ego และ Superego
ความขัดแย้งเกิดข้ึนในระดับจิตใต้สำนึก
พัฒนาการบุคลิกภาพในช่วงแรกของชีวิตเกิดการติดขัด (fixation) หรือไม่ได้รับการตอบสนอง
จิตบาบัดแบบอิงทฤษฏีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytically-oriented psychotherapy)
2.1 จิตบาบัดมุ่งเน้นการตระหนักรู้ (Insight- oriented psychotherapy)
ให้ความสาคัญต่อเหตุการณ์ หรือประสบการณ์ในอดีต
2.2 จิตบาบัดแบบประคับประคอง (Supportive psychotherapy)
เน้นการช่วยลดอาการทางจิตใจ ที่ก่อมห้เกิดปัญหา
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับจิตบำบัด
จิตบำบัดแนวทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic theory)
จิตบำบัดแนวทฤษฎีมนุษยนิยม (Humanism)
จิตบำบัดแนวทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
จิตบำบัดแนวทฤษฎีทางปัญญานิยม(Cognitivism)
องค์ประกอบสำคัญสำหรับการทำจิตบำบัด
ผู้รับบริการหรือผู้ป่วย
1.2 กลุ่มอาการของโรค
ผู้บำบัด
3.สถานที่