Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่, นางสาววิชุลดา ขันติวงศ์ 6301110801118 - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ใหญ่
-
- การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาติดเชื้อ การเสียสมดุลน้ำ เกลือแร่ในระยะเฉียบพลัน วิกฤต และเรื้อรัง
กรณีที่มีอาการสูญเสียน้ำ โดยไม่ปรากฏอาการคลื่นไส้อาเจียน ให้รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย แคลอรี่และโปรตีนสูง โดยให้ครั้งละน้อยๆ บ่อยๆ ครั้ง เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารที่เพียงพอแก่ร่างกาย
บันทึกและติดตามอาการและอาการแสดงที่อาจเกิดขึ้นจากการสูญเสียน้ำและเกลือแร่อย่างรุนแรง เช่น กระหายน้ำ อ่อนเพลีย ซึม สับสน หายใจเร็ว ชีพจรเต้นเร็ว ระดับความรู้สึกตัวลดลง ความตึงตัวของผิวหนังไม่ดี ผิวแห้ง ปากแห้ง มีการเกร็งกระตุกของกล้ามเนื้อ น้ำหนักตัวลดลง ความดันเลือดต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า ปัสสาวะลดลงและมีความถ่วงจำเพาะสูงกว่าปกติ เป็นต้น ชั่งน้ำหนักตัว สังเกตลักษณะของอุจจาระและจำนวนครั้ง หากพบความผิดปกติให้รายงานให้แพทย์ทราบ และสังเกตอาการที่เกิดจากภาวะน้ำเกิน เช่น บวม ไอมีเสมหะเป็นฟองสีชมพู เป็นต้น เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพของผู้ป่วย
ประเมินอาการและอาการแสดงของการเสียสมดุลของอิเล็กโทรไลต์ เช่น ระดับโปแตสเซียม หัวใจเต้นผิดปกติ ความดันเลือดต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า กล้ามเนื้ออ่อนแรง มีอาการชา คลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืด เป็นต้น
-
- การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาขับถ่าย ปัสสาวะในระยะเฉียบพลัน วิกฤต และเรื้อรัง
- ติดตามประเมินผลการรักษาและหน้าที่ของไต โดยบันทึกจำนวนของเหลวที่ได้รับและจำนวน ปัสสาวะทุกวัน เพื่อประเมินหน้าที่ของไตและสามารถสังเกตลักษณะของปัสสาวะเกี่ยวกับสี กถิ่น ความใส หรือขุ่นและสิ่งเจือปน ติดตามผลการเก็บปัสสาวะส่งตรวจ เพื่อประเมินภาวะติดเชื้อว่าดีขึ้นหรือไม่
- ป้องกันและตรวจก้นภาวะช็อกจากการติดเชื้อ โคยวัดและบันทึกสัญญาณชีพในผู้ป่วยที่รับไว้ในโรงพยาบาล
1.. ดูแลให้ผู้ป่วยได้ดื่มน้ำและรับประทานอาหารพอเพียง แนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำวันละ 2 - 3 ลิตร เป็นปริมาณที่เพียงพอสำหรับการขับปัสสาวะ แต่ไม่ทำให้ปัสสาวะเจือจางจนมีผลต่อระดับยาในกระแสโลหิตให้อยู่ในระดับคงที่พอจะฆ่าเชื้อโรคได้
- การพยาบาลฉุกเฉิน บาดเจ็บและ
สาธารณภัย
การประเมินA-B-C-D
B - Breathing ถ้าผู้ป่วยมีภาวะเลือดมีออกซิเจนน้อย (hypoxemia) ก็จำเป็นต้องให้สูดดมออกซิเจนที่มีความเข้มข้นสูงและช่วยหายใจ ดังนั้น โดยทั่วไปมักเตรียมถังออกซิเจนไปด้วยระหว่างขนย้าย
-
-
-
-
-
- การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการย่อย การเผาผลาญ และการขับถ่ายในระยะ เฉียบพลัน วิกฤต และเรื้อรัง
ดูแลการรับประทานอาหาร และเครื่องดื่มที่ย่อยง่าย ไม่ควรฝืนรับประทาน หาก รู้สึกคลื่นไส้ ให้รับประทานอาหารมื้อละน้อยๆ แต่ บ่อยๆ
- การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งในระยะเฉียบพลัน
วิกฤต และเรื้อรัง
-
-