Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5 การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
5 การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
5.2 ประเมิความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันผู้สูงอายุ
Feeding (รับประทานอาหารเมื่อเตรียมสำรับไว้ให้เรียบร้อยต่อหน้า)
Grooming (ล้างหน้า หวีผม แปรงฟัน โกนหนวด ในระยะเวลา 24-48 ชั่วโมงที่ผ่านมา)
Transfer (ลุกนั่งจากที่นอน หรือจากเตรียงไปยังเก้าอี้)
Toilet use (ใช้ห้องน้ำ)
Mobility (การเคลื่อนที่ภายในห้องหรือบ้าน)
Dressing (การสวมใส่เสื้อผ้า)
Stairs (การขึ้นลงบันได 1 ขั้น)
Bathing (การอาบน้ำ)
Bowels (การกลั้นการถ่ายอุจจาระในระยะ 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา)
Bladder (การกลั้นปัสสาวะในระยะ 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา)
5.3การประเมินทางจิตประสาทและสุขภาพผู้สูงอายุ
MMSE-Thai 2002
Orientation for place : ทดสอบการรับรู้เกี่ยวกับที่อยู่ในปัจจุบัน
Orientation for time :
ทดสอบการรับรู้เกี่ยวกับเวลาในปัจจุบัน
Registration : ทดสอบการบันทึกความจำโดยให้จำชื่อของ 3อย่าง
Attention or Calculation : ทดสอบสมาธิโดยให้คิดเลขในใจ
Recal : ทดสอบความจำระยะสั้นของชื่อสิ่งของ 3 อย่างที่ให้จำไว้แล้ว
Naming : ทดสอบการบอกชื่อสิ่งของที่ได้เห็น
Repetition : ทดสอบการพูดซ้ำคำที่ได้ยิน
Verbal command :ทดสอบการเข้าใจความหมายและทำตามคำสั่ง
Written command : ทดสอบการอ่าน การเข้าใจความหมาย
Writing : ทดสอบการเขียนภาษาอย่างมีความหมาย
Visuoconstruction :ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตากับมือ
5.4การประเมินด้านจิตสังคม/
สิ่งแวดล้อมของผู้สูงอายุ
แสงสว่างไม่เพียงพอ มีพื้นต่างระดับพื้นเปียกหรือลื่น ไม่มีราวบันได้ บันไดสูง ชันจัดวางข้าวของไม่มีระเบียบหรือย้ายโต๊ะตู้บ่อยๆทำให้ผู้สูงอายุไม่คุ้นเคยจึงสะดุดหกลัมได้
5.1 การประเมินความเสี่ยงต่อการหกลัมของผู้สูงอายุ
1.1 การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย : กำลังกล้ามเนื้อขาลดลงปวดเข่าและติดขัด มองไม่ชัด ได้ยินลดลง ทรงตัวไม่ดี
1.2 การพักผ่อนไม่เพียงพอจากโรคประจำตัว จิตใจ
1.3 การแต่งกาย : รองเท้าหลวม รองเท้าลื่นกางเกงหรือกระโปรงยาว มีสายรุงรัง
1.5 ได้รับยารักษาโรคความดันโลหิตสูง ยาขับปัสสาวะ
หรือยารักษาโรคพาร์กินสัน
1.6 ภายหลังการเจ็บป่วยนอนพักอยู่บนเตียงนาน ๆ
1.4 พฤติกรรม : การถือของมาก ๆ
5.5การประเมินภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุ
สารอาหารแต่ละชนิดในเลือดหรือปัสสาวะเช่นhemoglobin, iron, folate,albumin รวมถึงวิตามินและแร่ธาตุต่างๆสามารถทำการวิเคราะห์เป็นรายบุคคลหรือกลุ่มมีความแม่นยำและแสดงความผิดปกติด้ก่อนจะมีอาการแสดงทางคลินิ่ก
การตรวจร่างกายเพื่อดูอาการทางคลินิก (Physicalexamination/Clinicalassessment)
การตรวจร่างกายจะต้องกระทำโดยแพทย์ที่มีประสบการณ์สามารถบอกถึงชนิดและความรุนแรงของการขาดสารอาหารได้และสามารถให้การรักษาและให้คำแนะนำไปด้วยพร้อมกับการประเมินภาวะโภชนาการ
การหาชนิดและปริมาณของสารอาหารที่บริโภค (Dietaryassessment)เป็นการสอบถามลักษณะและปริมาณอาหารที่บริโภคและนำไปคำนวนปริมาณสารอาหารและพลังงานที่รับในแต่ละวัน
(Anthropometric assessment / Percentage of body fat analysis)เช่น การชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงหรือการวัดชั้นไขมันใต้ผิวหนังสำหรับในผู้สูงอายุที่มีหลังผิดรูปหรือยืนไม่ได้อาจทำให้การวัดความสูงผิดพลาดได้ จึงอาจวัดเป็นระยะจากเท้าถึงหัวเข่าในท่านั่ง (kneeheight)หรือวัดความยาวแขน (am span) แทนได้การวัดสัดส่วนร่างกายเป็นการประเมินภาวะโภชนาการ