Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute glomeruronephitis: AGN) - Coggle Diagram
หน่วยไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute glomeruronephitis: AGN)
พยาธิสภาพของโรค :
ภาวะการอักเสบของกลุ่มเลือดฝอยของไต(Glomeruli)เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ก็จะสร้างแอนติบอดี้และเมื่อรวมตัวกับแอนติเจนก็จะกลายเป็นระบบภูมิคุ้มกันที่ซับซ้อน(circulation immune complex:CIC)ทำให้เกิดการหลั่งสารvasoactive amines ไปกระตุ้นการหลั่งของสารไคนิน ซึ่งจะหลั่งออกมาเมื่อมีการกระทบกระเทือนหรือเกิดบาดแผล มีผลให้หลอดเลือดมีการขยายตัวและสารที่กาอให้เกิดการอักเสบมาคั่งที่ทำให้โกลเมอรูลัสเกิดการอักเสบเฉียบพลัน
การรักษา
2.ควบคุมความสมดุลของน้ำในร่างกาย บันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออก(IO)
3.การพักผ่อน โดยการจำกัดกิจกรรม
1.ควบคุมอาการบวมและป้องกันไม่ให้เกิดภาวะเลือดคั่งโดยจำกัดเกลือ ถ้าบวมมากจนกระทั่งความดันโลหิตสูง หรือภาวะเลือดคั่งในปอด(pulmonary congestion)อาจต้องใช้ยาขับปัสสาวะ
4.ควบคุมอาหารและน้ำดื่ม
4.1จำกัดน้ำดื่มในรายที่มีปัสสาวะน้อยกว่า250ml/dayหรือน้อยกว่า0.5-1ml/kg/hr
4.2จำกัดโซเดียมและโพแทสเซียม
ผู้ป่วยที่มีอาการบวมและความดันโลหิตสูงเล็กน้อย สามารถทานอาหารที่มีรสเค็มน้อย(low salt diet) ให้ได้รับเกลือประมาณ1-2กรัม/วัน
จำกัดสารอาหารโปรตีน ยกเว้นในรายที่มีภาวะไขมันในเลือดสูง(azotemia)
ผู้ป่วยที่มีอาการบวม และมีความดันโลหิตสูงเกิน150/100 mmHg ต้องทานอาหารรสจืด ควรได้รับเกลือธรรมชาติจากอาหารไม่เกินวันละ 300มิลลิกรัม/วัน
สาเหตุ
1.ส่วนใหญ่เกิดจากปฏิกิริยาของภูมิคุ้มกันในร่างกายมักเกิดหลังจากได้รับเชื้อแบคทีเรียเช่น staphylococcus ซึ่งพบมากบริเวณผิวหนังได้แก่ แผลจากการเป็นอีสุกอีใส แมลงกัดต่อย แผลตุ่มหนองพุพอง
2.เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสเช่น เชื้อstreptococcusซึ่งพบมากในระบบทางเดินหายใจเช่น โรคทอนซิลอีกเสบ ไข้หวัด หูชั้นกลางอักเสบ
การพยาบาล
6.ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก4ชั่วโมง ถ้ามีไข้ให้เช็ดตัวให้ยาลดไข้และประเมินอาการ
7.แนะนำไม่ให้กลั้นปัสสาวะ
5.ดูแลให้ได้รับสารอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตและวิตามินสูง จำกัดอาหารโปรตีนและโพแทสเซียมสูงเพื่อลดการทำงานของไต
4.จำกัดโซเดียมในผู้ป่วยทีมีอาการบวม ความดันโลหิตสูง
8.ชั่งน้ำหนักและบันทึกน้ำเข้า-ออก
3.จำกัดน้ำดื่มเมื่อพบว่าปัสสาวะออกน้อยกว่า10-15มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน
9.ดูแลพักผ่อนอย่างเพียงพอ
2.ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 3,000-4,000 ml/day
10.งดการออกกำลังกายหนัก เพราะอาจทำให้กลไกการไหลเวียนของเลือดสู่medulla แทนที่จะไปเลี้ยงที่corexของไต ทำให้ปัสสาวะเป็นเลือด
1.ดูแลให้สารน้ำ ยาปฏิชีวนะ ciprofloxacin
อาการ
3.ระยะรุนแรง
1.ความดันโลหิตสูง อาการที่พบ ปวดศีรษะ อาเจียน ซึมลง สับสน การมองเห็นผิดปกติ พูดไม่ได้ จำอะไรไม่ได้
2.ภาวะเลือดคั่ง( circulatory congestion) อาการที่พบ หายใจลำบาก(dyspnea)นอนราบไม่ได้(orthopnea)ภาวะหัวใจล้มเหลว อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร มีไข้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่มีปัสสาวะ
2.อาการเริ่มแรก
2.ปัสสาวะออกน้อยกว่า100ml/day(dysuria)หรือไม่มีปัสสาวะ(anuria)
3.ปัสสาวะเป็นเลือด(hematuria)
1.มีอาการบวม (edema):ลักษณะบวมทั้งตัว บวมชัดเจนบริเวณหนังตา ใบหน้า แสดงว่ามีน้ำและเกลือในหลอดเลือด
1.ระยะแฝง (latent peroid):ระยะตั้งแต่ติดเชื้อจนเกิดอาการไตอักเสบใช้เวลาประมาณ8-21วัน ผู้ป่วยมักไม่มีอาการ อาจตรวจพบปัสสาวะเป็นเลือดหรือมีโปรตีนในปัสสาวะ