Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
7.การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพ (Geriatric syndromes), 7.2…
7.การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพ (Geriatric syndromes)
7.1 RAMPs
R= Reduce body reserve กำลังถดถอย
A= Atypical presentation อาการแสดงไม่ตรงไปตรงมา
M= Multiple pathology มีโรคหลายโรค
P=Polypharmacy ใช้ยาหลายชนิด
S= Social adversity พึ่งพิงผู้ดูแล
7.2 กลุ่มอาการ
7.2.2 Immobility สูญเสียการเดิน การเคลื่อนไหว
ปัญหาทางร่างกายมักเกิดจาก ปวดข้อ การทรงตัว เดินหกล้ม
ปัญหาทางจิตใจเกิดจาก ซึมเศร้า เบื่อหน่าย ไม่อยากทำอะไร
เกิดปัญหา Immobilization Syndrome คือ กล้ามเนื้อลีบเล็กลง ข้อต่อหดรั้ง ลิ่มเลือดอุดกั้น ติดเชื้อ
การฟื้นฟู
ระยะแรก เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน หรือถดถอยของร่างกายในระบบต่างๆ โดยเน้นทำ Passive Exercise
ระยะหลัง เพื่อเพิ่มระดับความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง โดยเน้นส่งเสริมให้ทำ Active Exercise
7.2.1 Instability การเดินไม่มั่นคง
การเดินที่มั่นคงต้องอาศัย ระบบรับความรู้สึก ระบบประสาทส่วนกลาง
และการทำงานของกล้ามเนื้อและข้อต่อ
ฟื้นฟู
ค้นหาปัจจัยเสี่ยง
แก้ไขสาเหตุ เช่น จากกล้ามเนื้อ ข้อต่อ Parkinson
เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการหกล้ม ขาดความมั่นใจในการเดิน
7.2.3 Intellectual impairment ความบกพร่องทางสติปัญญา
ความบกพร่องทางสติปัญญาเป็นอุปสรรคต่อการฟื้นฟู
ไม่ร่วมมือในการฝึก
ไม่มีสมาธิ
ผู้สูงอายุที่มีสมองเสื่อมปานกลาง
มีข้อจำกัดในการเรียนรู้ใหม่
กระทบต่อ BADL
กระทบต่อ IADL
อาจมาจากปัญหาอื่นๆ เช่น หูตึง ซึมเศร้า ภาวะสับสน
การฟื้นฟู
หากพบปัญญาาในการประเมินให้การพยาบาลต่อไป
ประเมิน mental status ของญาติและคนดูแล
ประเมินระดับความสามารถในการเรียนรู้
7.2.4 Incontinence การกลั้นอุจจาระปัสสาวะไม่อยู่
จากการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ทำให้ขาดความมั่นใจในตัวเองทำให้เลี่ยงจากการเข้าสังคม
เพศชาย
BPH ต้องตรวจหาสาเหตุเพิ่มเติม
เพศหญิง
กล้ามเนื้อเชิงกรานบกพร่อง
การฟื้นฟู
Pelvic floor exercise (การขมิบช่องคลอด) และ ถ่ายปัสสาวะเป็นเวลา
กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะไวเกิน
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ อาจเกิดจากท้องผูกอัดแน่น ทำให้อุจจาระเล็ดราด
การฟื้นฟู
กระตุ้นลำไส้ โดยการรับประทานอาหารที่มีกาก ใย ดื่มน้ำ เปลี่ยนท่าบ่อยๆ
นวดหน้าท้องตามแนวลำไส้ใหญ่
7.2.5 Insomnia นอนไม่หลับ
ปัญหาการนอน
1 นอนหลับยาก NREM 1 เคลิ้ม นานมาก
นอนหลับตื่นกลางคืน
3 ตื่นก่อนเวลา
สาเหตุ
สาเหตุทานกาแฟมากเกินไป
ออกกำลังกายก่อนนอน 4 ชม นอนเร็วไป
เล่นมือถือ นอนกลางวันนาน เครียด
การส่งเสริม
ผ่อนคลายความเครียด จัดสิ่งแวดล้อม เงียบ มืด เย็น 18 องศา
ไม่เล่นมือถือ จัดที่นอนให้เหมาะสม
กลไกการนอนหลับ
NREM 1 เคลิ้ม
NREM 2 กล้ามเนื้อผ่อนคลาย BP.P.T
NREM 3 หลับสนิท ปลุกยากกล้ามเนื้อคลายตัว
NREM 4 หลับลึก (deep sleep) ปลุกยากหลับสนิท
REM หลับลึก ช่วยเสริมความคิด ความจำ และการรับรู้
7.2.7 latrogenesisภาวะไม่พึงประสงค์จากยา
Digitalis ทำปฏิกิริยาต่อ Diuretics เกิดพิษของยา Digitalis
Warfarin ทำปฏิกิริยาต่อ Phenylbutazone, Metronidazole, Aspirin เกิดอาการเลือดออกง่ายหยุดยาก
Propranalol ทำปฏิกิริยาต่อ Cimetidine เกิดอาหารหัวใจเต้นช้ามาก
7.2.8 Abuse การทารุณกรรม
ด้านอารมณ์และจิตใจ (psychological abuse )
เป็น พฤติกรรมที่แสดงออกต่อผู้สูงอายุส่งผลกระทบต่อ อารมณ์ ความรู้สึกและจิตใจ
การละเมิดสิทธิผู้สูงอายุ (infringement elderly)
การทำให้ผู้สูงอายุเกิดการสูญเสียความเป็น ส่วนตัวขาดอิสระทางด้านร่างกายและจิตใจขาดอำนาจใน การตัดสินใจด้วยตนเอง
ด้านร่างกาย (physical abuse )
เป็นการกระทำต่อ ร่างกายผู้สูงอายุทำให้
ได้รับอันตรายและได้รับความทุกข์ เช่น การทุบตี เตะ การผูกมัด
การคุกคามทางเพศ (sexual abuse)
เป็นพฤติกรรม การล่วงละเมิดทางเพศโดยไม่ได้รับความยินยอมจาก ผู้สูงอายุ
7.2.6 Inanitionอ่อนเพลียจากการขาดสารอาหาร
1) น้ำหนักตัวลดลงร้อยละ 10 หรือมากกว่าในระยะเวลา 6 เดือน
2) น้ำหนักตัวลดลงร้อยละ 5 หรือมากกว่าในระยะเวลา 1 เดือน
3) น้ำหนักตัวลดลงน้อยกว่าน้ำหนักมาตรฐานร้อยละ 20
4) มีภาวะโรคเรื้อรังหรือภาวะที่มีการเผาผลาญอาหารเพิ่ม
5) มีการเปลี่ยนแปลงในการรับประทานอาหาร
6) รับประทานอาหารลดลงในเวลา 7 วัน