Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุป เรื่อง พรบ.การบัญชี พ.ศ.2543 มีผลบังคับใช้ 12 พฤษภาคม 2543 - Coggle…
สรุป เรื่อง พรบ.การบัญชี พ.ศ.2543
มีผลบังคับใช้ 12 พฤษภาคม 2543
ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ (ม.8) พร้อมผู้รับผิดชอบ (ผู้กระทำการแทน)
กลุ่มที่ 1
3.บริษัทมหาชนจำกัด
ผู้รับผิดชอบ-กรรมการบริษัท
2.บริษัทจำกัด
ผู้รับผิดชอบ-กรรมการบริษัท
1.ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
ห้างหุ้นส่วนจำกัด
ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
ผู้รับผิดชอบ-หุ้นส่วนผู้จัดการ
5.กิจกรรมร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
ผู้รับผิดชอบ-ผู้อำนวยการ หรือผู้จัดการ
4.นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย
ผู้รับผิดชอบ-ผู้รับผิดชอบดำเนินการในประเทศไทย (ผู้กระทำการแทนที่ได้รับแต่งตั้งจากนิติบุคคลต่างประเทศ)
6.สถานที่ประกอบธุรกิจประจำ
ผู้รับผิดชอบ-ผู้จัดการ
กลุ่มที่ 2
บุคคลธรรมดา/ห้างหุ้นส่วนที่มิได้จดทะเบียน ที่ประกอบธุรกิจเป็นผู้ผลิต
ผู้จำหน่าย ผู้นำเข้าสินค้า
แถบเสียงเพลง แถบวีดีทัศน์ แผ่นซีดี
บุคคลธรรมดา/ห้างหุ้นส่วนที่มิได้จดทะเบียน ที่ประกอบธุรกิจเป็นผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ผู้นำเข้ามาในราชอาณาจักร หรือผู้ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร ประเภทแถบเสียงเพลง แถบวีดีทัศน์ และแผ่นซีดี
บุคคลธรรมดา/ห้างหุ้นส่วนที่มิได้จดทะเบียน ที่ประกอบ
ธุรกิจเกี่ยวกับงาช้าง
ไม่ว่าจะเป็นการทำหัตถกรรม การค้าส่ง-ปลีก และอื่นๆ
หน้าที่และความรับผิดชอบ
4.ต้องจัดทำงบการเงินและยื่นงบการเงินภายในเวลากำหนด
เฉพาะกลุ่มที่ 1
กำหนดระยะเวลาการยื่นงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนนิติบุคคล และกิจการร่วมค้า ต้องยื่นงบภายใน 5 เดือน นับแต่วันปิดบัญชี
บริษัทจำกัด และบริษัทจำกัดมหาชนจำกัด ให้ยื่นงบภายใน 1 เดือนนับแต่วันที่งบการเงินนั้นได้รับอนุมัติในที่ประชุมใหญ่
5.จัดให้มีผู้ทำบัญชี
3.ต้องปิดบัญชีครั้งแรกภายใน 12 เดือนนับแต่วันเริ่มทำบัญชี และปิดบัญชี ทุกรอบ 112 เดือนนับแต่วันปิดบัญชีครั้งก่อน
จะปิดบัญชีโดยมีรอบปีบัญชีน้อยกว่า 12 เดือน ได้เพียง 2 กรณีเท่านั้น
1 เป็นรอบปีบัญชีปีแรก ซึ่งมีรอบปีบัญชีน้อยกว่า 12 เดือน
2 รอบปีบัญชีที่ได้รับอนุญาตเปลี่ยนรอบปีบัญชีจากสารวัตรใหญ่บัญชี/สารวัตรบัญชี
6.ส่งมอบเอกสารที่ต้องใช้ประกอบลงบัญชีให้แก่ผู้ทำบัญชีให้แก่ผู้ทำบัญชีให้ครบถ้วนถูกต้อง
2.จัดให้มีการทำบัญชีให้ครบถ้วนและถูกต้อง
2 ข้อความและรายการที่ต้องมีในบัญชี
3 ระยะเวลาที่ต้องลงรายการในบัญชี
บัญชีแยกประเภท
ภายใน 15 วัน นับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่รายการนั้นเกิดขึ้น
บัญชีสินค้า
ภายใน 15 วัน นับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่รายการนั้นเกิดขึ้น
บัญชีรายวัน
ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่รายการนั้นเกิดขึ้น
ในกรณีที่เป็นบัญชีแยกประเภท และบัญชีสินค้า
ลงรายการยอดคงเหลือ ภายใน 60 วันนับแต่วัดปิดบัญชี
1 ชนิดของบัญชีที่ต้องจัดทำ
บัญชีแยกประเภท
บัญชีสินค้า
บัญชีรายวัน
บัญชีรายวัน บัญชีแยกประเภทอื่น และบัญชีแยกประเภทย่อย
บุคคลธรรมดา/ห้างหุ้นส่วนที่มิได้จดทะเบียนที่ประกอบธุรกิจในประเทสไทย ต้องทำบัญชีสินค้าเท่านั้น
4 เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี
จัดทำขึ้นโดยผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี เพื่อออกให้แก่บุคคลภายนอก
จัดทำขึ้นโดยผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี เพื่อใช้ในกิจการของตนเอง
จัดทำโดยบุคคลภายนอก
7.เก็บรักษาบัญชีและเอกสารที่ต้องใช้ประกอบลงบัญชี
1.จัดให้มีการทำบัญชีนับแต่วันเริ่มทำบัญชี
กลุ่มที่ 1
กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
นับแต่วันที่ได้เริ่มต้นประกอบกิจการ
นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในไทย
นับแต่วันที่ได้เริ่มต้นประกอบธุรกิจในไทย
สถานที่ประกอบธุรกิจเป็นประจำ
นับแต่วันที่ได้เริ่มต้นประกอบกิจการ
ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน/บริษัทจำกัด/บริษัทมหาชนจำกัด
นับแต่วันที่ได้รับการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฏหมาย
กลุ่มที่ 2
บุคคลธรรมดาหรือห้างหุ้นส่วนไม่ได้จดทะเบียนให้เริ่มทำบัญชีนับแต่วันที่เริ่มต้นประกอบกิจการ
8.เมื่อบัญชีหรือเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีสูญหาย
ผู้มีหน้าที่ทำบัญชี
คุณสมบัติ
กลุ่ม 2 ห้างหุ้นส่วนไม่จดทะเบียน
ต้องมีวุฒิเช่นเดียวกับกลุ่ม 3,4
กลุ่ม 3 ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน และ บริษัทจำกัด
(ปวส.) ทางการบัญชี หรือ ไม่ต่ำกว่าอนุปริญญา (บัญชี)
วันปิดบัญชีในรอบปีที่ผ่านมา มีทุกรายการ ต่อไปนี้
ทุนจดทะเบียน
ไม่เกิน
5 ล้านบาท และ
สินทรัพย์รวม
ไม่เกิน
30 ล้านบาท และ
รายได้รวม
ไม่เกิน
30 ล้านบาท
กลุ่ม 1 บุคคลธรรมดา
จ้าง - มีคุณวุฒิเช่นเดียวกับกลุ่ม 3,4
ทำเอง - ไม่กำหนดคุณสมบัติ
กลุ่ม 4
4.1 ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน และ บริษัทจำกัด
4.2 บริษัทมหาชนจำกัด
4.3 นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย
4.4 กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
ไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี (บัญชี) หรือ เทียบเท่า
วันปิดบัญชีในรอบปีที่ผ่านมา มี
ทุนจดทะเบียน
สินทรัพย์รวม
หรือร
ายได้รวม
รายการใดรายการหนึ่ง
เกินกว่าที่กำหนดไว้ในกลุ่มที่ 3
ภาพรวม
ไม่เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
มีคุณวุฒิการศึกษษตามที่กำหนด
ไม่มีลักษณะต้องห้ามที่จะประกอบวิชาชีพ
มีความรู้ภาษาไทยเพียงพอ
มีภูมิลำเนา / ถิ่นที่อยู่ในอาณาจักร
2 กรณี
การเริ่มทำบัญชี รอบปีบัญชีแรกของผู้จัดทำบัญชี ให้ใช้เกณฑ์ทุนจดทะเบียนตามที่กำหนดไว้ในกลุ่มที่ 3,4
ทุนจดทะเบียน สินทรัพย์รวม หรือรายได้รวม
ของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีตามกลุ่มที่ 3 เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้ทำบัญชี ไม่มีคุณสมบัติของการเป็นผู้ทำบัญชี สามารถทำบัญชีต่อได้เป็นเวลา 2 ปี นับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชีที่มีการเปลี่ยนแปลง
หน้าที่และความรับผิดชอบ
การลงรายการในบัญชี
ลงรายการเป็นภาษาไทย หรือ กรณรลงเป็นต่างประเทศ ให้มีภาษาไทยกำกับ / ลงเป็นรหัสบัญชีให้มีคู่มือแปลรหัสที่เป็นภาษาไทยไว้
เขียนด้วยหมึก ดีดพิมพ์ หรือตีพิมพ์
อำนาจในการตรวจสอบบัญชี
สารวัติใหญ่บัญชีหรือสารวัตรบัญชี สามารถตรวจสอบเอกสาร / สามารถ ยึด อายัดเอกสารประกอบลงบัญชีได้
ต้องทำบัญชี เพื่อให้มีการแสดงผลการดำเนินงาน ฐานะการเงิน ตามความเป็นจริงและตามมาตรฐานบัญชี โดยมีเอกสารที่ใช้ประกอบให้ถูต้องครบถ้วน (มาตรา20)
การนับ ชม.การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพของผู้ทำบัญชี
สอน 3 ชม./วิชา ≤ 6
จบการศึกษา
ต่ำกว่าเดิมสาขาอื่นๆ 6 ชม./วุฒิ
รายวิชา 3 ชม./วิชา
สูงกว่าเดิม หรือ วุฒิเดิมสาขาอื่นๆ 12 ชม./วุฒิ
วิทยากร/ผู้บรรยาย/ผู้ดำเนินการสัมมนา 1x1
(เตรียมตัว 1x2 เว้น ผู้ดำเนินการสัมมนา)
อบรม/สัมมนา 1x1
การจัดทำบัญชี
ชนิดของบัญชีที่ต้องจัดทำ
บัญชีสินค้า
บัญชีรายวัน บัญชีแยกประเภทอื่น
บัญชีแยกประเภท
บัญชีแยกประเภทย่อย
บัญชีรายวัน
หลักในการจัดทำบัญชี
1.ถูกต้อง
ตามพรบ.การบัญชี พ.ศ.2543
ตามหลักการบัญชี (มาตรฐานการบัญชี)
2.ครบถ้วน
ทุกรายการที่เกิดขึ้นได้นำมาบันทึกบัญชี
3.เชื่อถือได้
รายการเกิดขึ้นจริง
มีเอกสารหลักฐานสนันสนุนรายการ
การจัดทำบัญชี
2.หลักฐาน/ข้อเท็จจริงทางการบัญชี
ใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับสินค้า ใบสำคัญจ่าย
3.บันทึกรายการในบัญชี
บัญชีตามที่กฎหมายกำหนด
1.รายการค้า
การซื้อขาย/ขายสินค้า,บริการ ค่าใช้จ่ายต่างๆ
4.งบการเงิน/รายการทางการเงิน
งบดุล งบกำไรขาดทุน และอื่นๆ
เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี
เอกสารที่จัดทำขึ้นโดยผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีเพื่ออกให้แก่บุคคลภายนอก
เอกสารที่จัดทำขึ้นโดยผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีเพื่อใช้ภายในกิจการ
เอกสารที่จัดทำขึ้นโดยบุคคลภายนอก
การจัดทำ และนำส่งงบการเงิน (ม.11)
ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน นิติบุคคลต่างประเทศ กิจการร่วมค้า
จัดทำ และยื่นงบการเงินภายใน 5 เดือน นับแต่วันปิดบัญชี
บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด
จัดทำ และยื่นงบการเงินภายใน 1 เดือน นับแต่วันที่งบการเงิน
ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่
บทกำหนดลงโทษ (หมวด 5 ม.27- 41)
ปรับผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
ไม่จัดให้มีการทำบัญชี
ไม่ปิดบัญชี
ไม่จัดทำงบการเงินและยื่นงบ
ไม่จัดให้งบการเงินมีรายการย่อ
ไม่จัดให้งบการเงินรับการตรวจสอบและแสดงความเห็น
ไม่ส่งมอบเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี
ไม่เก็บรักษาบัญชีและเอกสาร
ไม่แจ้งภายใน 15 วัน
ไม่จัดให้มีผู้ทำบัญชีซึ่งเป็นผู้มีคุณสมบัติตามที่อธิบดีกำหนด
ปรับและหรือจำคุก ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี หรือผู้กระทำผิดแล้วแต่กรณี
ไม่อำนวยความสะดวกแก่สารวัตรใหญ่บัญชีหรือสารวัตรบัญชี
ฝ่าฝืนคำสั่งของสารวัตรใหญ่บัญชีหรือสารวัตรบัญชี
ขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของสารวัตรใหญ่บัญชีหรือสารวัตรบัญชี
ทำให้เสียหาย ทำลาย ซ่อนเร้นหรือทำให้สูญหาย
ลงรายการเท็จ
แจ้งข้อความเป็นเท็จต่อสารวัตรใหญ่บัญชีหรือสารวัตรบัญชี
ปรับผู้กระทำผิด
ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามประกาศของอธิบดี
เอกสารที่ต้องใช้ประกอบ
ระยะเวลาที่ต้องลงรายการ
คุณสมบัติและเงื่อนไขของการเป็นผู้ทำบัญชี
ข้อความและรายการที่ต้องมีในบัญชี
ชนิดของบัญชี
ไม่จัดทำบัญชี
ไม่ลงรายการในบัญชีเป็นภาษาไทย
ตารางอัตราค่าปรับ
กรณียื่นงบการเงินเกินกว่าระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด
2.อัตราค่าปรับกรณียท่นงบการเงินล่าช้าเกิน 2 เดือน แต่ไม่เกิน 4 เดือน
3.อัตราค่าปรับกรณียื่นงบการเงินล่าช้าเกินกว่า 4 เดือนขึ้นไป หรือไม่ยื่นงบการเงิน
1.อัตราค่าปรับกรณียื่นงบการเงินล่าช้าไม่เกิน 2 เดือน