Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7การจัดสวัสดิการสังคมในประเทศไทย - Coggle Diagram
บทที่7การจัดสวัสดิการสังคมในประเทศไทย
การจัดสวัสดิการสังคมในประเทศไทย
การจัดสวัสดิการสังคมโดยภาครัฐ
2.การประกันสังคม (Social Insurance)
3.การประกันในภาคเอกชนและองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร
(Individual Voluntary,
Nonprofit Organizations and Private Insurance)
1.การให้ความช่วยเหลือทางสังคม (SocialAssistance)
สวัสดิการสังคมในระบบสังคมและวัฒนธรรมในระบบสังคมและวัฒนธรรมมีการพัฒนา
การจัดสวัสดิการสังคมในประเทศไทยภายใต้กรอบประชาคมสงัคมและวัฒนธรรมอาเซียน
การจัดสวัสดิการสังคมในประเทศไทยภายใต้กรอบประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
รัฐสวัสดิการ
ระบบของรัฐสวัสดิการ
เป็นการจัดสวัสดิการโดยอาศัยฐานทรัพยากรที่มาจากภาษี รัฐสวัสดิการจะใช้ระบบการ
จัดเก็บภาษีแบบก้าวหน้า
เป็นการจัดสวัสดิการแบบทั่วถึง (Universal) ในลักษณะ “สิทธิ” ของพลเมือง สวัสดิการ
สังคมควรเป็นสิทธิของประชาชนทุกคน
ลักษณะรัฐสวัสดิการ
รัฐสวัสดิกํารแบบเสรีนิยม
รัฐสวัสดิกํารแบบอนุรักษนิยม
รัฐสวัสดิกํารแบบสังคมประชําธิปไตย
รัฐสวัสดิการ กับ กํารสังคมสงเคราะห์
ระบบรัฐสวัสดิการมีความแต่กต่างโดยสิ้นเชิงกับระบบการ ‘สงเคราะห์’ เฉพาะคนยากคนจน
ในขณะที่ระบบการสงเคราะห์คนยากคนจนนั้น มีลักษณะเหมือนการจัดสรรเศษเล็กๆ น้อย ๆ
ของความมั่งคั่งของประเทศเพื่อช่วยเหลือประทังชีวิตของคนยากคนจนโดยผู้ที่ประสงค์จะรับการ
สงเคราะห์จะต้องพิสูจน์ความยากจนและความไร้ที่พึ่งของตนให้ประจักษ์จึงจะมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือ
รัฐสวัสดิการกับการแก้ปัญหาสังคมไทย
ด้าน กลุ่มเป้าหมาย นโยบายสวัสดิการ
เด็กเล็กและ
ครอบครัว
เด็กแรกเกิด-อายุ 6 ปี
โครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด
ความยากจน
ผู้มีรายได้น้อยผู้พิการ
ผู้สูงอายุผู้ป่วยติด
เตียง
บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
การศึกษา
เด็กในวัยเรียน
นโยบายเรียนฟรีอนุบาล-ม.3
ผู้พิการ
ผู้พิการที่มีบัตร
ประจ าตัวผู้พิการ
เบี้ยยังชีพผู้พิการ
ช่องว่างสวัสดิการของประเทศไทย
สวัสดิการไม่มีความต่อเนื่อง
สวัสดิการไม่ถ้วนหน้า
มีข้อจ ากัดในการเข้าถึง
โครงสร้างพื้นฐานไม่รองรับการใช้ชีวิตแม้มีสวัสดิการอยู่
เงินจากสวัสดิการไม่เพียงพอกับการด ารงชีวิต
ภาครัฐขาดฐานข้อมูลประชาชนอย่างเป็นระบบ