Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
G4P4 GA40+4 week with Normal Labor With Retained Placenta With Postpartum…
G4P4 GA40+4 week with Normal Labor With Retained Placenta With Postpartum Hemorrhage
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ผิดปกติ
14/1/2567
MCV 66.0 fl ต่ำกว่าปกติ เนื่องจากมารดาหลังคลอดมีภาวะซีด
BUN 4.6 mg/dl ต่ำกว่าปกติ อาจเกิดจากการที่ร่างกายขาดน้ำ หรือดื่มน้ำน้อยกว่าปกติ
PTT 22.30 sec ต่ำกว่าปกติ เนื่องจากมารดาหลังคลอดมีภาวะซีด
Hematocrit
14/1/2567 Hematocrit 29 % ต่ำกว่าปกติ เนื่องจากมารดาหลังคลอดมีภาวะซีด
15/1/2567 Hematocrit 29 % ต่ำกว่าปกติ เนื่องจากมารดาหลังคลอดมีภาวะซีดและมีภาวะตกเลือดหลังคลอด
16/1/2567 Hematocrit 20 % ต่ำกว่าปกติ เนื่องจากมารดาหลังคลอดมีภาวะซีดและมีภาวะตกเลือดหลังคลอด
Hct 33.3 % ต่ำกว่าปกติ เนื่องจากมารดาหลังคลอดมีภาวะซีด
Hb 10.9 g/dL ต่ำกว่าปกติ เนื่องจากมารดาหลังคลอดมีภาวะซีด
ข้อวินิจฉัย
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ข้อมสนับสนุน
S :มารดาให้ ข้อมูลว่า “คนในบ้านรักกันดี”
S: มารดาหลัง คลอดให้ข้อมูลว่า บุตรคนนี้ เป็นคนที่ 4
O: ลูกๆคอยดูแลใกล้ชิด
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดของมารดาเพื่อให้สามารถวาง แผนการพยาบาลได้ถูกต้องเหมาะสม
แนะนำให้สังเกตน้ำคาวปลา ทั้งจำนวน สี กลิ่น ใน 2–3 วันแรกหลังคลอด สีจะ ออกแดง และวันที่ 4-9 วันจะเป็นสีขาวออกเหลืองๆ ไม่มีกลิ่นเหม็นมากพบอาการ ผิดปกติ เช่น มีกลิ่นหรือมีเลือดออกให้มาพบแพทย์ทันที
แนะนำให้ดูแลทำความสะอาดร่างกาย และอวัยยวะสืบพันธุ์เป็นประจำ ไม่ควร อาบน้ำในลำคลอง เพราะอาจทำให้ติดเชื้อได้ เนื่องจากปากมดลูกยังไม่ปิดและควร ใส่ผ้าอนามัยเพราะสะอาดปลอดภัย และเปลี่ยนทุกครั้งเมื่อชุ่ม
แนะนำให้งดร่วมเพศสัมพันธ์จนกว่าจะครบกำหนดหลังคลอด คือ 6 สัปดาห์หลังคลอด เพื่อป้องกันการติดเชื้อซึ่งสอดคล้องกับวัฒนธรรมหรือปฏิบัติของมารดาหลังคลอดที่ ต้องการงดร่วมเพศหลังคลอด 100 วัน เพื่อให้มดลูกเข้าอู่ดีและแผลดี
แนะนำให้ขมิบช่องคลอดวันละ 50 ถึง 100 ครั้ง เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนเลือด ทำให้มดลูกเข้าอู่เร็วขึ้น
ถ้ามารดาหลังคลอดจะให้ผดุงครรภ์โบราณ นวดตัว นวดเต้านม ประคบก้อนเต้า อาบน้ำ สมุนไพรตามประเพณีที่ปฏิบัติต่อๆกันมาย่อมกระทำได้ เพื่อให้เกิดความ สบายใจของผู้รับบริการ
แนะนำให้มารดาหลังคลอดมาตรวจตามนัดคือ 6 สัปดาห์หลังคลอด เพื่อตรวจ ร่างกายและตรวจภายในโดยไปที่สถานบริการใกล้บ้าน
แนะนำให้ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ขณะอาบน้ำ และภายหลังการขับถ่าย โดยล้างมือก่อนจับอวัยวะสืบพันธุ์ทำความสะอาดจากหัวเหน่าลงไปไม่ให้เช็ดจาก ทวารหนักขึ้นมาทางด้านหน้า เพื่อป้องกันการปนเปื้อนสิ่งสกปรกจากทวารหนักเข้าสู่ช่องคลอด
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารประเภทโปรตีนในปริมาณมากและอาหารที่มี วิตามินซีสูง เพื่อสร้างคอลลาเจนในการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ และแผลฝีเย็บจะเป็นการช่วยในการสร้างน้ำนมด้วย
แนะนำการรักษาความสะอาดของหัวนม เต้านมด้วยการทำความสะอาดทุกครั้ง หลังอาบน้ำ
ขณะให้นมบุตรแนะนำให้มารดาประคับประคองศีรษะของทารกให้กระชับอกเพื่อลดการดึงรั้งของน้ำนม
แนะนำวิธีการให้นมบุตรที่ถูกต้องแก่มารดา
แนะนำไม่ให้มารดาซื้อยามารับประทาน เพราะยาสามารถผ่านทางน้ำนมได้ มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารก
แนะนำให้มารดาดูแลทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยสบู่หรือน้ำสะอาด ซับให้แห้ง ใส่ผ้าอนามัยเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
แนะนำอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ทันที คือ มีไข้ หนาวสั่น ปัสสาวะแสบขัด เต้านมอักเสบและอาการซึมเศร้าหลังคลอด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อหลังคลอด เนื่องจากมีภาวะรกค้าง
ข้อมูลสนับสนุน
S:มารดาหลังคลอดให้ข้อมูลว่า “ครรภ์ก่อนหน้านี้มีประวัติรกค้าง” S:มารดาหลังคลอดให้ข้อมูลว่า “ไม่มีประวัติแท้งบุตร และไม่เคยได้รับการขูดมดลูกมาก่อน”
O: ภายหลังคลอด ไม่สามารถทำคลอดรกได้.
O:มีเลือดออก 850 ml O: แพทย์ทำการล้วงรก
กิจกรรมการพยาบาล
1.ติดตามประเมินและสังเกตสลักษณะ จำนวน สี และกลิ่นของน้ำคาวปลาทุกๆวัน
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำให้ได้เพียงพอตามแผนการรักษา
4.ดูแลให้ได้รับยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
5.วัดระดับยอดมดลูก ประเมินการหดรัดตัว คลึงมดลูกจนมดลูกหดรัดกลมแข็งและบันทึกทุกวัน
6.ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
7.จัดเสื้อผ้าที่สะอาด
8.จัดสิ่งแวดล้อม
มีภาวะซีด เนื่องจากมีการสูญเสียเลือดจากการคลอด
ข้อมูลสนับสนุน
O: G4P4 GA40+4 week with Normal Labor With Retained Placenta With Postpartum Hemorrhages
O :Manual removal placenta
O: TBL 850 ml
O: Hct 29% ของวันที่ 15/1/67
Hct 20% ของวันที่16/1/67
O:มารดาหลังคลอด สีหน่นเพลีย เยื่อบุตาซีด ริมฝีปากซีด
O:capillary refill > 2 วินาที
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงขอภาวะซีด
วัดและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
อธิบายสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นของภาวะซีด
4.ดูแลให้ได้รับยาบำรุงเลือด
5.ดูแลให้ได้รับ PRC ตามแผนการรักษา
แนะนำให้รับประทานอาหาร
แนะนำให้มารดาคลึงมดลูกให้กลมแข็งตลอดเวลา
8.ดูแลหรือแนะนำให้มารดานอนหลับพักผ่อนบนเตียง
แนะนำญาติในการช่วยเหลือการทำกิจวัตรประจำวัน
10.ติดตามผลทางห้องปฏิบัติ
ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่
ข้อมูลสนับสนุน
S : มารดาให้ข้อมูลว่า น้ำนมไหลซึมทั้ง 2 ข้าง มีสีเหลือง
S : มารดาให้ข้อมูลว่า ไม่มีอาการคัดตึงเต้านม
ไม่มีอาการเจ็บปวดเต้านม
O : บุตรอยู่ nursery
O : มารดามีภาวะหัวนมสั้น
กิจกรรมการพยาบาล
1.พูดคุยให้กำลังใจ
2.อธิบายให้มารดาทราบเรื่องน้ำนม
3.ประเมิน Latch score
4.แนะนำวิธีให้ทารกโดยใช้ 4 วิธี
5.แนะนำให้มารดาอุ้มลูกอย่างถูกวิธี
มารดาวิตกกังวล เนื่องจากมีภาวะตกเลือดหลังคลอด
ข้อมูลสนับสนุน
S: มารดาหลังคลอดให้ ข้อมูลว่า“ตนกังวลเรื่องตกเลือดหลังคลอด”
O:มารดาหลังคลอดสีหน้ากังวล
กิจกรรมการพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพและรับฟังเรื่องราวอย่างตั้งใจ เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
เปิดโอกาสให้มารดาได้ระบายความรู้สึกและซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ
อธิบายให้ทราบถึงแผนการรักษาของแพทย์ การปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล รวมทั้งบอกผลการตรวจให้ทราบเพื่อจะได้ไม่เกิดความรู้สึกกลัวหรือวิตกกังวล
แนะนำการปฏิบัติตน การสังเกตอาการผิดปกติ โดยเฉพาะถ้ามีเลือดออกหรือออกมากขึ้น ให้แจ้งพยาบาลทราบทันที
ให้คำแนะนำญาติในการให้กำลังใจและให้ความช่วยเหลือมารดาก่อนคลอด
5.แนะนำมารดาใช้เทคนิคการผ่อนคลายร่างกาย
6.ให้ข้อมูลภาวะสุขภาพทารกทุกครั้งที่ตรวจประเมินทารก เพื่อลดความวิตกกังวล
แนะนำให้ผู้ป่วยผ่อนคลายโดยปฏิบัติตามหลักความเชื่อของผู้ป่วย โดยไม่ส่งผลกระทบต่อแผนการรักษา
ส่งเสริมการวางแผนครอบครัวและการคุมกำเนิดหลังคลอด
ข้อมูลสนับสนุน
S: มารดาหลังคลอดให้ข้อมูลว่า “ตนเคยคุมกำเนิดแล้วตอนคลอดครรภ์ก่อน แบบฉีดยาคุมกำเนิด แต่ฉีดยาคุมไม่ต่อเหนื่อง ทำให้ระดูมาไม่สม่ำเสมอ”
O: case มารดาหลังคลอด G4P4 GA40+4 week with Normal Labor With Retained Placenta With Postpartum Hemorrhage
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนครอบครัว
2.แนะนำวิธีการคุมกำเนิดแบบชั่วคราว
แนะนำวิธีการคุมกำเนิดแบบถาวร
4.แนะนำมารดาหลังคลอดให้เลี้ยงบุตรด้วยนมแม่
5.แนะนำให้ความรู้เรื่องคุมกำเนิดควรให้เลือกวิธีคุมกำเนิดไม่บังคับผู้ป่วยเคารพการตัดใจ
6.ประเมินความรู้ของมารดาหลังคลอดที่ได้รับ
ส่งเสริมการปรับตัวในระยะกึ่งพึ่งพา
ข้อมสนับสนุน
O: มารดาหลังคลอด มีอาการอ่อนเพลีย นอนพักบนเตียงเป็นส่วนใหญ่
O : มารดาหลัง คลอด สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ด้วย ตนเองสามารถลุก เดินไปเข้าห้องน้ำได้
O: มารดาหลัง คลอดมีสามีและมารดาคอยช่วยเหลืออยู่เสมอ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลให้มารดาหลังคลอดได้รับการนอนหลับพักผ่อน
2.ประเมินอาการปวดแผลฝีเย็บและการหดรัดตัวของมดลูก
3.ดูแลให้มารดาหลับคลอดได้รับปีะทานอาหารที่เพียงพและมีประโยชน์
4.ควรให้การพยาบาลไม่บ่อยครั้ง และเวลาเดียวกัน
ดูแลให้มารดาได้รับการทำความสะอาดร่างกายและอำนวยความสะดวกแก่มารดา
แนะนำให้สามี หรือสมาชิกในครอบครัวคอยดูแลมารดาหลังคลอดอย่างใกล้ชิด
มีภาวะตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากรกค้าง
S : มารดาให้ข้อมูลว่า มีน้ำคาวปลาสีแดง ไม่มีเป็นลิ่มเลือด หรือเป็นก้อน
O : Case G4P4 NL with Retained placenta manual removal placenta
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะตกเลือดหลังคลอด
ประเมินและตรวจสอบสาเหตุของการตกเลือดที่เกิดขึ้นภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ตามหลัก 4T
3.ประเมินปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
4.วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ประเมินและสังเกตการหดรัดตัวของมดลูกโดยการคลำและคลึงบริเวณหน้าท้อง
กระตุ้นและดูแลให้ขับถ่ายปัสสาวะ
แนะนำมารดาหลังคลอดให้สังเกตอาการผิดปกติ
ข้อมูลคนไข้
CC : Refer จากโรงพยาบาลระแงะ หลังคลอดทารก รกค้างนาน 1 ชั่วมง 30 นาที
PI : มารดาหลังคลอด G4P4 GA40+4 week Normal Labor เวลา 04:26 นาที ทารกเพศชาย นำหนัก 3,405 กรัม หลังคลอดทารก 30 นาที รกไม่คลอดด TBL = 350 ml Notify แพทย์มารีนา ให้ Refer มาที่โรงพยาบาลนราธิวาส ก่อนมาได้รับ Cytotec 4 tab,5%DN/2 1000 ml + Syntocinon 10 Unit IV 100ml/hr, NSS 100 ml IV 40 ml/hr, Plasil 1 amp IV, Climetidine 1 amp IV
At โรงพยาบาลนราธิวาส แพทย์มีแผนการรักษาให้ Set OR for Placental Removal หลังทำการล้วงรก TBL: 500 ml
มารดาหลังคลอดให้ข้อมูลว่า การตั้งครรภ์ครั้งนี้เป็นการตั้งครรภ์ครั้งที่ 4 ฝากครรภ์ครั้งแรกตอนอายุครรภ์ 6 เดือน เนื่องจากไม่รู้ว่าตนเองท้อง เนื่องจาก ตนเองฉีดยาคุม ทำให้ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอและไม่ได้ฉีดยาคุมอย่างต่อเนื่อง ฝากครรภ์ครั้งแรกที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจุฬาพรณ์พัฒนา อำเภอระแงะ จำนวน 8 ครั้ง ANC ครั้งแรกตอนอายุครรภ์ 24 สัปดาห์ LMP 09/04/2566 EDP 16/1/2567 แต่เจ็บครรภ์คลอดก่อนจึงมาโรงพยาบาลระแงะ ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ DCIP = Negative Hb = 10.4 g/dL HBsAg = Negative Hct ครั้งที่ 1 = 31.2 % Hct ครั้งที่ 2 = 34 % HIV ครั้งที่ 1 = Negative HIV ครั้งที่ / = Negative MCV = 66 fl OF = Postive VDRL ครั้งที่ 1 = Non-Reactive VDRL ครั้งที่ 2 = Non-Reactive
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต : มารดาหลังคลอดให้ข้อมูลว่า ปฏิเสธการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน หัวใจ เป็นต้น ปฏิเสธการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เอดส์ ซิฟิลิส หนองใน เป็นต้น ปฏิเสธการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อร้ายแรง เช่น วัณโรค ไวรัสตับอักเสบ เป็นต้น
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : มารดาหลังคลอดให้ข้อมูลว่า บุคคลในครอบครัวปฏิเสธการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน หัวใจ เป็นต้น ปฏิเสธการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เอดส์ ซิฟิลิส หนองใน เป็นต้น ปฏิเสธการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อร้ายแรง เช่น วัณโรค ไวรัสตับอักเสบ เป็นต้น
สภาพผู้ป่วยเมื่อเริ่มศึกษา
มารดาหลังคลอด G4P4 GA40+4 week by LMP อายุ 38 ปี มารดาหลังคลอด 1 วัน แต่งกายด้วยชุดโรงพยาบาล นอนพักอยู่บนเตียง สีหน้าอ่อนเพลีย มารดารู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่องให้ความร่วมมือในการตอบคำถามอย่างดี สามารถช่วยเหลือตนเองได้เล็กน้อย ต้องให้ญาติคอยช่วยเหลือ มารดาหลังคลอดปวดแผล 3 คะแนน มดลูกหดรันตัวดี กลมแข็ง ระดับยอดมดลูกอยู่บริเวณใต้สะดือเยื่องไปทางซ้าย วัดยอดมดลูกได้ 8 นิ้ว ประเมิณ Latch score ได้ 4 คะแนน เนื่องจากทารกอยู่ Nursery น้ำนมไหลเกรด 1 V/S BT: 36.5 C,PR : 72 bpm,RR : 20 bpm,BP: 114/80 mmHg
พยาธิสภาพ
ชนิดของการตกเลือด
1.การตกเลือดหลังคลอดระยะแรก หรือการตกเลือด
หลังคลอดทันที (Early or immediate postpartum hemorrhage)
รกหรือเศษรกค้างภายในโพรงมดลูก (Retained Placenta)
ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด (thrombin)
การฉีกขาดของช่องทางคลอด (Perineal Laceration)
อันตรายจากการตกเลือดระยะแรก
ระยะทันที
ระยะต่อมา
ระยะภายหลัง
1.มดลูกหดรัดตัว (Tone) ไม่ดี (Uterine Atony)
2.การตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง (Late postpartum hemorrhage)
ภาวะติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
เลือดออกจากแผลภายในของคลอด
มีก้อนเลือด หรือเศษรกค้างอยู่ภายในโพรงมดลูก
เลือดออกจากแผลของมดลูกภายหลังภายตัดทางหน้าท้อง และมะเร็งไข่ปลาอุก
ปัจจัยเสี่ยงของการตกเลือดหลังคลอด
Tone คือ มดลูกหดรัดตัวไม่ดี (Uterine atony)
Trauma คือ การฉีกขาดของช่องทางคลอด (Laceration of the genital tract)
Tissue คือ การมีเศษรก/เนื้อเยื่อหรือรกค้าง
Thrombin คือ ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
ภาวะตกเลือดหลังคลอด คือ การที่มีเลือดออกหลังคลอดบุตรปกติทางช่องคลอดในปริมาณมากกว่า 500 มิลลิลิตร ภายหลังการคลอดปกติ หรือร้อยละ 1 ของน้ำหนักมารดา หรือมากกว่า 1,000 มิลลิลิตรในรายที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
อาการและอาการแสดงของการตกเลือดหลังคลอด
1.ระยะแรก
มีเลือดไหลออหมาให้เห็นทางช่องคลอด
มีอาการของการเสียเลือด เช่น ซีด ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่ำ เหงื่อออก ใจสั่น ตัวเย็น
คลำมดลูก อยู่เหนือระดับสะดือหรือมีขนาดใหญ่กว่าปกติเนื่องจากมีเลือดขังอยู่ภายใน
2.ระยะหลัง
-มีเลือดออกทางช่องคลอด มักเกิดอาการภายใน 3 สัปดาห์หลังคลอด
_
การประเมินตามหลัก 13B
1 B Background ภูมิหลังของผู้ป่วย ประวัติการตั้งครรภ์ต่างๆทั้งในอดีตและปัจจุบัติ ประวัติการเจ็บป่วยและการเลี้ยงดูบุตรคนก่อนๆ
มารดาอายุ 38 ปี ใหประวัติว่าจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 สภานภาพสมรสคู่ ตั้งครรภ์ครั้งที่ 4 คลอด normal labor ทั้งหมด
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนซ้อนระหว่างการตั้งครรภ์ ยกเว้นครรภ์ปัจจุบันมีภสวะรกค้าง
2 B Belief ความเชื่อที่มีผลต่อการปฎิบัตตัวหลังคลอก
มารดามีความเชื่อเกี่ยวกับอาหารเย็น น้ำเย็น น้ำแข็ง
3 B Body condition การประเมินภาวะร่างกาย
มารดารู้สึกตัวดีถามตอบรู้เรื่อง
4 B Body temperature and blood pressure อุณหภูมิร่างกาย
ไม่มีภาวะอุณภูมิร่าฃกายสูงหรือต่ำมากกว่าปกติ BT 36.5 c BP 118/72
5 B Breast and lactation เต้านมและการหลั่งของน้ำนม
น้ำนมไหลซึม หัวนมยื่นเล็กน้อยไม่มีหัวนมบอดบุ๋ม
6B Belly and fundus หน้าท้องและยอดมดลูก
ลักษณะท้องหย่อน มดลูกกลมแข็งดี
7B Bladder กระเพาะปัสสาวะ
มารดาปัสสาวะออกดี ไม่มีปีสสาวะแสบขัด
8B Bleeding and lochia เลือดและน้ำคาวปลา
น้ำคาวปบาสีแดงสด เปลี่ยนผ้าอนามัย 2 ขิ้นไม่ชุ่ม
9B Bottom ฝีเย็บและทวารหนัก
ไม่มรแผลฝีเย็บ ไม่มีริดสีดวงทวาร
10B Bowel movement การทำงานของลำไส้
ยังไม่ถ่ายอุุจาระ ไม่ผ่ายลม
11B Blues ภาวะด้านจิตใจ
ไม่มีภาะซึมเศร้าหลังคลอด
12B Bonding สัมพันธภาพ
ครอบครัวรักใคร่กันดี ช่วยกันเบี้ยงดูบุตร
13 B Baby ทารก
ทารกเพศชาย น้ำหนัก 3405 รับการรักษาที่แนกืNICU