Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของทางเดินหายใจส่วนล่าง - Coggle Diagram
ความผิดปกติของทางเดินหายใจส่วนล่าง
ฝีในปอด (Lung abscess)
พยาธิสภาพ
การติดเชื้ออย่างรุนแรง (เชื้อแบคทีเรีย microbial infection)
ทำลายเนื้อปอดจนเกิดเป็นโพรง (ภายในโพรงมีเศษเนื้อตาย เลือด
หนอง(pus)
Stages of Lung abscess
I stage: inflammatory (ไข้เรื้อรัง)
III stage: pneumosclerosis (เนื้อปอดแข็งคล้ายแผลเป็น)
II stage: cavity filled with pus (มีโพรงหนองชัดเจน)
สาเหตุ
1. การสำลัก (aspiration)
(เน้นมากก)
ผู้ป่วยโรคปริทันต์ (เหงือกอักเสบ) เนื่องจากมีเชื้อแบคทีเรียภายในปาก
มีการอัดตันที่ bronchi จากก้อน (tumors) สิ่งแปลกปลอม (foreign body)
คนที่เป็นโรค ปอดอักเสบ, วัณโรคปอด
อาการและอาการแสดง
เสมหะมีกลิ่นเหม็น/รสเปรี้ยว
มีไข้ หนาวสั่น
เจ็บหน้าอกเวลาหายใจเข้าลึก ๆ (pleuritic chest pain)
ไอมีเสมหะ เป็นหนอง มีสีน้ำตาลเข้ม
การรักษา
1. การรักษาด้วยยา antibiotic
Penicillin G 1-2
(S/E: ท้องเสีย)
Metronidazole
Clindamycin
การส่องกล้อง (Endoscopic) เพื่อระบายหนองออก
การผ่าตัดปอดออกเป็นกลีบ (Lobectomy)
การผ่าตัดปอดออกทั้งข้าง (Pneumonectomy)
การพยาบาล
1. ดูแลให้ได้รับ antibiotics
การจัดท่าหลังผ่าตัด
Lobectomy :
good lung down
(นอนตะแคงทับข้างที่ไม่ได้ผ่าตัด)
Pneumonectomy :
good lung up
(นอนตะแคงทับข้างที่ผ่า)
แนะนำการหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อส่งเสริมการขยายตัวของปอด
ไม่แนะนำให้ทำกายภาพบำบัดทรวงอก (chest physiotherapy), ไม่ควรเคาะปอด และ ไม่ควรจัดท่าระบายเสมหะ เนื่องจากทำให้การติดเชื้อแพร่กระจาย
ภาวะหนองในช่องเยื่อหุ้มปอด (Empyema thoracis)
พยาธิสภาพ
แบ่งเป็น 3 ระยะ
Exudative empyemas: water+protein หนองยังไม่ข้น
Fibrinopurulent empyemas: หนองเริ่มมีความหนืด เหนียว จะ transitional เป็นระหว่าง acute หรือ chronic
Organizing: fibrin ที่หุ้มรอบปอดจะหนาขึ้น และมี fibroblast ปรากฏให้เห็น หนองจะค่อนข้างข้นมาก ๆ
อาจเกิดแบบเฉพาะที่ (localized) หรือ ทั่วทั้งโพรงเยื่อหุ้มปอด
อาการและอาการแสดง
หายใจสั้น มีไข้
เจ็บหน้าอกเวลาหายใจเข้า หรือ ไอ มีเสมหะ
Chronic อายพบ clubbing fingers และการขยายตัวของทรวงอกที่จำกัด
การรักษา
การฆ่าเชื้อบริเวณช่องเยื่อหุ้มปอดที่เป็นหนองด้วย antibiotics
การระบายน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด
2.1 Thoracentesis
: จัดท่าให้ผู้ป่วยนั่งและแทงเข็มที่ช่องระหว่างซี่โครงที่ 9
จัดท่าโดยนั่งห้อยเท้าข้างเตียง ฟุบหัวลงบนหมอนที่วางไว้บนโต๊ะคร่อมเตียง ยกแขนกอดหมอน
ท่านอนตะแคง ยกหัวสูง หันข้างที่เจาะไว้ข้างบน มือจับหัวเตียง
หลังทำเสร็จ จัดท่าให้ข้างที่เจาะอยู่ข้างบนประมาณ 1 ชั่วโมง
2.2 Intercostal drainage
: การใส่ท่อระบายเข้าไปทางช่องระหว่างซี่โครง ปลายนอกของท่อจุ่มใต้น้ำในขวดใต้เตียง
2.3 Video-assisted thoracoscopic surgery; VATS
: การส่องกล่อง
2.4 Thoracotomy with decortication
: เปิดช่องซี่โครงเพื่อลอกผนังโพรงหนอง
Intercostal chest drainage: ICD
ประเภทของการใส่สายระบาย
36-40F ใช้ระบายเลือด ใส่บริเวณช่องซี่โครงที่ 5-6
12-24F ใช้ระบายลม ใส่บริเวณซี่โครงที่ 2-3
24-36F ใช้ระบายน้ำ
ระบบการระบายทรวงอกแบบปิด
ระบบ 1 ขวด:
ใช้สำหรับระบายลมหรือของเหลวอื่น ๆที่ปริมาณไม่มาก
โดยปลายหลอดแก้วจุ่มใต้น้ำ ~ 2-3 เซน
ระบบ 2 ขวด:
ใช้ระบายเลือดหรือของเหลวที่ออกมากหรือเร็ว
โดยปลายหลอดแก้วจุ่มใต้น้ำ ~ 2-3 เซน
ระบบ 3 ขวด: คล้ายกับ 2 ขวดแต่
เพิ่มขวดควบคุมความดันมา
โดยปลายหลอดแก้วจุ่มใต้น้ำขวดที่ 3 ~ 10 เซน โดยใช้แรงดัน 20 cm.H2O
ระบบ 4 ขวด:
เพิ่มขวด under water seal อีก 1 ขวด
โดยปลายหลอดแก้วจุ่มใต้น้ำขวดที่ 4 ~ 2-3 เซน
การพยาบาล
1. การดูแลท่อระบายทรวงอก
ไม่ให้สายหัก พับ งอ จัดสายให้อยู่ในแนวตรงสู่ขวดรองรับ
ห้ามบีบรูด milking/ stripping
ยกเว้นกรณีจำเป็นจริง ๆ เช่น มีเลือดคั่งค้างในท่อระบาย (ไม่ควรรูดเกิน 4 นิ้ว)
หลีกเลี่ยงการหนีบสาย clamp เป็นเวลานาน
(ในกรณีจำเป็นจริง ๆ ไม่เกิน 2 นาที)
2. ดูแลขวดรองรับสารเหลว
โดยจัดขวดให้อยู่ต่ำกว่าระดับทรวงอก ~ 2-3 ฟุต
3. การดูแลขวดผนึกอากาศ
สังเกตการกระเพื่อมขึ้นลง (fluctuation, tidaling)
การพยาบาลผู้ป่วย Lung surgery
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
เตรียมความพร้อมด้านร่างกาย ประเมินความเสี่ยงภาวะปอดแฟบ และปอดอักเสบ
อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้ป่วยต้องเผชิญหลังผ่าตัด
อธิบายวิธีการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด
3.1 การพลิกตะแคงตัวบ่อย ๆ เพื่อขับเสมหะ
3.2 สอนการหายใจและไออย่างมีประสิทธิภาพ
3.3 การบริหารปอดโดยใช้ incentive spirometry
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ประเมินการทำงานระบบหายใจ
2. Pain management
V/S
สังเกตบริเวณที่ผ่าตัด
จัดท่าอย่างเหมาะสม : good lung down
กระตุ้นการบริหารแขนและไหล่
ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax)
แบ่งเป็น 3 ประเภท
เกิดขึ้นเองโดยไม่มีสาเหตุ (spontaneous): ไม่มีช่องเปิดของทรวงอก ไม่มีการกระทบการเทือนจากภายนอก
แบบมีรูเปิด (open/traumatic): เกิดบาดแผลบริเวณทรวงอก จากการได้รับบาดเจ็บต่าง ๆ
แบบความดันบวกจากลมรั่ว /ภาวะปอดถูกกดทับ (tension): มีลมเข้าไปขณะหายใจเข้าแต่ไม่สามารถหายใจออกได้ จึงเกิดแรงมาก เบียดปอดข้างนั้นให้แฟบลง
พยาธิสภาพ
ลมเข้าปอดเกิดสภาวะความดันบวก ทำให้เกิดปอดแฟบ เบียดหลอดเลือดหรือหัวใจ cardiac output และ venous return ลดลง เลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายลดลง
อาการและอาการแสดง
อาการปวดทันที
เจ็บหน้าอกจากเยื่อหุ้มปอด
ไม่สุขสบายบริเวณหน้าอก
หายใจเร็ว ลำบาก ช้าและลึก
การพยาบาล
ดูแลสายระบายทรวงอก
นอนหัวสูง 30-45 องศา
ดูแลให้ได้รับ O2 / monitor O2 sat
ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pleural effusion)
พยาธิสภาพ
ในภาวะปกติจะมีน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด ~ 5-15 มิลลิลิตร
น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดจะตรวจพบเมื่อมีปริมาณ > 300 มิลลิลิตร
เมื่อปอดเกิดความผิดปกติ ของเหลวจะไปสะสมในช่องเยื่อหุ้มปอด
แบ่งเป็น 2 ลักษณะ
1. Transudative
: เกิดจากการเพิ่ม hydrostatic pressure หรือ ลด oncotic pressureของหลอดเลือดที่เยื่อหุ้มปอด ลักษณะสีใส
2. Exudative
: เกิดจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบทำให้มีการรั่วของสารน้ำเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด มีลักษณะ ข้น(มีโปรตีนปนอยู่)
การรักษา/พยาบาล
การเจาะเอาน้ำออกมากกว่า 1000-1500 มิลลิลิตร
(Thoracentesis)
การพยาบาลจะสัมพันธ์กับสาเหตุที่ทำให้เกิด ที่สำคัญต้องดูแลสายระบายทรวงอก บรรเทาอาการปวด การท่าหัวสูง เป็นต้น
อาการและอาการแสดง
มี/ไม่มีอาการก็ได้
มีอาการไอมีเสมหะปนเลือด
ขาบวม นอนราบไม่ได้
ภาวมีเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด (Hemothorax)
พยาธิสภาพ
ปกติในโพรงระหว่างเยื่อหุ้มปอดทั้งสองชั้นมีความดันลบระหว่าง 10-20 mmHg. เมื่อปอดมีการทะลุจากภายนอกเข้าไปในโพรงเยื่อหุ้มปอด ความดันลบก็จะลดลงเรื่อย ๆ
แบ่งเป็น 3 ระดับ
1. Minimal
: เลือดออก 200-350 มิลลิลิตร อาจไม่แสดงอาการ ดูดกลับได้ภายใน 10-14 วัน
2. Moderate
: เลือดออก 350-1500 มิลลิลิตร มีอาการแน่น หายใจลำบาก กระหายน้ำ ชีพจรเร็ว BP ต่ำ
3. Massive
: > 1500 มิลลิลิตร ภายใน 1 ชั่วโมงตั้งแต่ได้รับบาดเจ็บ หากได้รับบาดเจ็บมากกว่า 1 ชั่วโมงให้สังเกตปริมาณ >400 cc / > 200-300 cc ใน 2-3 ชั่วโมง คุกคามชีวิต
อาการและอาการแสดง
กระสับกระะส่าย
ซีด หัวใจเต้นเร็ว
เสมหะเป็นฟองหรือมีเลือดปน
หลอดเลือดดำที่คอแบน (flat neck veins)
การรักษา/พยาบาล
การใส่ท่อระบายทรวงอก
หากมีเลือดออก 1500-2000 cc หรือออกทางสายระบายทรวงอก 200 cc/hr. ติดต่อกัน 3 ชั่วโมง ต้องได้รับการผ่าตัดเปิดทรวงอก
ดูแลท่อระบายทรวงอก ดูแลให้ออกซิเจน ดูแลให้ส่วนประกอบของเลือดและสารน้ำ
มะเร็งปอด (CA Lung)
พยาธิสภาพ
เซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลง
ก้อนในท่อหลอดลมสามารถเจริญเติบโตและไปอุดกั้นทางเดินหายใจได้ มีผลทำให้การแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนลดลง
แบ่งเป็น 2 ชนิด
1. Non-small cell lung cancer; NSCLC
พบปริมาณร้อยละ 85 ของมะเร็งปอดทั้งหมด ดำเนินโรคและแพร่กระจายช้า
2. Small cell lung cancer; SCLC
พบร้อยละ 15 ดำเนินโรคและแพร่กระจายเร็ว พบบริเวณใกล้ขั้วปอดมากกว่าชายปอด
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
การสูบบุหรี่
การสัมผัสสารจากก่อโรคจากการทำงาน สวล.
Air pollution
ความเสี่ยงทางพันธุกรรม
โรคปอดบางชนิด: COPD, IDF
อาการและอาการแสดง
ไอเรื้อรัง หายใจลำบาก หายใจมีเสียง wheezing
เสียงแหบ (hoarseness)
กลืนลำบาก
การพยาบาล
ดูแลจัดการอาการไม่พึงประสงค์
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัด
ดูแลระบบทางเดินหายใจ
ภาวะแทรกซ้อน