Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกและข้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกและข้อ
กระดูกหัก (Fracture)
คือ ภาวะที่มีการแตกหรือหักของกระดูก
บริเวณที่หักอาจจะแตกเป็นรอย
การแบ่งชนิดของกระดูกหัก
1.กระดูกหักชนิดไม่มีแผล (Closed Fracture)
คือ กระดูกหัก แต่ผิวหนังไม่ได้รับบาดเจ็บใด ๆ
2.กระดูกหักแบบแผลเปิด ( Open or Compound
Fracture)
คือ กระดูกทิ่มผิวหนังออกมา หรือได้รับบาดเจ็บจน
ผิวหนังเปิดซึ่งเสี่งยงต่อการติดเชื้อได้สูง
รูปแบบการหักของกระดูก
กระดูกหักทั่วไป (Simple Fracture) คือ กระดูกที่แตกออกเป็น 2 ชิ้น
กระดูกยุบตัว (Compression Fracture) คือ กระดูกที่เกิดการยุบตัวเมื่อได้รับแรงกระแทกอย่างรุนแรง
กระดูกหักเป็นเกลียว (Spiral Fracture) คือ ภาวะกระดูกที่หักเป็นเกลียว
กระดูกเดาะ (Greenstick Fracture) คือ กระดูกที่แตกเพียงด้านเดียว
กระดูกแตกย่อย (Comminuted Fracture) คือ ภาวะที่กระดูกแตกออกเป็น 3 ชิ้นขึ้นไป
กระดูกหักตามขวาง (Transverse Fracture) คือ กระดูกที่แตกออกตามแนวขวาง
กระดูกหักเฉียง (Oblique Fracture) คือ กระดูกทีเกิดการแตกเป็นแนวโค้งหรือลดหลั่นลงมา
ปุ่มกระดูกแตก (Avulsion Fracture) คือ กระดูกที่หักจากแรงกระชาก
กระดูกหักยุบเข้าหากัน (Impacted Fracture) คือ ภาวะที่กระดูกทั้ง 2 ด้านได้รับแรงกด
กระดูกหักล้า (Stress Fracture) คือ กระดูกที่ปริออกจากกัน ซึ่งเกิดจากการใช้งานซํ้า ๆ
กระดูกหักจากพยาธิสภาพ (Pathologic Fracture) คือ ภาวะกระดูกหักที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติของกระดูกหรือการป่วย
การบาดเจ็บของ ข้อ กระดูก
และกล้ามเนื้อที่พบบ่อย
การบาดเจ็บที่แขน
แขนประกอบด้วย กระดูกต้นแขน ( humerus )
และกระดูกปลายแขน
การบาดเจ็บที่ขา
ขา ประกอบด้วยกระดูกต้นขา
(Femoral bone) และกระดูกแข้ง
การบาดเจ็บที่แขนขา
หมายถึง การบาดเจ็บต่อ ผิวหนัง เนื้อเยื่อ
หลอดเลือด กระดูก และเส้นประสาทที่ไปเลี้ยง
แขนขา ด้วย
อาการและอาการแสดงเมื่อเกิดการบาดเจ็บ
PAIN AND TENDERNESS
มีอาการปวดและกดเจ็บเนื่องจากกล้ามเนื้อบริเวณนั้นมีการหดเกร็ง
SWELLING OR BRUISING
มีการบวมและมีรอยฟกชํ้า
DEFORMITY
กระดูกที่มีหักมีการผิดรูป เช่น มีการโก่งงอ การบิด
LOSS OF FUNCTION
สูญเสียหน้าที่ไป
SHOCK
อาจเกิดภาวะช๊อกได้จากการเสียเลือดมาก
การพยาบาลผู้ป่วยระบบกระดูกไม่ติดเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อนจากการใส่เฝือก
การกดทับ Common peroneal nerve
Compartment syndrome
Cast syndrome
Pressure injury
กล้ามเนื้อลีบ ข้อติด
Constipation
ความไม่สุขสบาย เช่น คัน เกิดผื่น
อาจเกิด pneumonia ในผู้สูงอาย
การติดเชื้อบริเวณ Pin (Halo cast)
การกดทับ Common peroneal nerve
การพยาบาล
ประเมินการทํางานของ peroneal nerve โดยการใช้วัสดุจิ้มบริเวณ lateral surface ของหัวแม่เท้า และ medial surface ของนิ้วชี
ให้กระดกข้อเท้า แล้วเหยียดนิ้วเท้าออก
ประเมินอาการปวด อาการชา
จัดขาให้ตรง ไม่external rotation
วางขาบนหมอนสูงเหนือระดับหัวใจ
Compartment syndrome
การพยาบาล
คลายสิ่งของเครื่่องดาม/ เฝือกออก
จัดแนวแขนขา ให้อยู่ในลักษณะตรง ไม่โก่งงอ
วางขาในระดับหัวใจ
หลีกเลียงการใช้ความเย็นบริเวณที่มีพยาธิสภาพ
Cast syndrome
การพยาบาล
ประเมิน bowel sound
คลําบริเวณหน้าท้อง,สอบถามการผายลม
เปลี่ยนท่านอน
การพยาบาลผู้ป่วย on Traction
Counter traction มีแรงต้านในทิศทางตรงข้ามกับ
แนวดึง ,ไม่ให้ขายันปลายเตียง
Prevent friction เช่น ปุ่มเชือกที่อยู่บนรอก นํ้าหนักที่ใช้ถ่วง
Continuous traction ป้องกัน การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อกะทันหัน
Line of pull
Correct body alignment/position เคลื่อนไหวได้ตาม
ความจําเป็น ตามแนว traction
External fixation
คือ การผ่าตัดใส่วัสดุยึดตรึงกระดูกภายนอกร่างกาย
นิยมใช้กับ ผู้ป่วย Open fx correct deformity
Limb lengthening.
การพยาบาล
1.ประเมินการบาดเจ็บต่อ หลอดเลือด เส้นประสาท และประเมิน
Sign of Compartment syndrome
ป้องกันการติดเชื้อของแผลผ่าตัด ,Pin care
Rehabilitation
เตรียมความพร้อมก่อนกลับบ้าน การดูแล pin site การสังเกตอาการ
การพยาบาลผู้ป่วย on Internal Fixation
ประเมิน V/S, hypovolemic shock,Neurovascular injury
Obs. Fat embolism เช่น หายใจเหนื่อย สับสน ซึม
Bleeding (active bleeding > 200 cc/1 hr )
ป้องกันการติดเชื้อของแผลผ่าตัด
การจัดการความปวด
Rehabilitation
การพยาบาลผู้ป่วยไขสันหลังบาดเจ็บ
ผู้ป่วยมีอาการ Spinal shock
เสียความรู้สึกทางกาย (somatic sensation)และ อวันวะภายใน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง อัมพาต ปวกเปียก (Flaccid paralysis)
สูญเสียreflex ต่างๆของส่วนที่ตํ่ากว่าการบาดเจ็บ
กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ ลําลําไส้อ่อนแรง ทําให้ปัสสาวะ อุจจาระคั่ง
อาการอาจอยู่นาน 2-3 วัน หรือ นาน 6-8 wks.
หลอดเลือดขยายตัว BP
การพยาบาลผู้ป่วยไขสันหลังบาดเจ็บ
ประเมิน sign of spinal shock, Autonomic
dysreflexia
ดูแลให้ immobilized ตามแผนการรักษา
ประเมิน sign Deep vein thrombosis ได้แก่ อาการบวม อุ่น กด
เจ็บที่น่อง
โรคกระดูกที่เกิดจากการติดเชื้อ
Osteoarthritis
สาเหตุ
Primary osteoarthritis
เกิดจากการสึกหรอ
การเสื่อมของข้อ โดยไม่มีสาเหตุนํา
พบบ่อยในผู้สูงอายุ
Secondary osteoarthritis
มีความผิดปกติมาแต่กําเนิด
การอักเสบของข้อ
ผลจากโรคอื่นๆ
การได้รับบาดเจ็บ
การรักษา
การรักษาตามอาการ
กําจัดสาเหตุส่งเสริมที่ทําให้ข้อเสื่อมเร็วขึ้น
ลดหรือพักการใช้งานข้อที่มีอาการ
กายภาพบําบัด (Physiotherapy)
การใช้ยา (Drugs)
Osteomyelitis
สาเหตุ
กระดูกอักเสบติดเชื้อเฉียบพลัน
พบบ่อยในวัยเด็กอายุตํ่ากว่า 12 ปี และเพิ่มมากขึ้นในวัยหนุ่มสาว
ในผู้ใหญ่ พบที่กระดูกสันและมักลามไปตาม ligament
เกิดจากเชื้อรา เเบคทีเรีย ไวรัส
กระดูกอักเสบติดเชื้อเรื้อรัง
เกิดขึ้นเมื่อมีการติดเชื้อที่กระดูกและการรักษาในระยะแรกไม่ได้ผล
การอักเสบติดเชื้อเรื้อรังจากภายนอกและภายใน
การรักษา
กระดูกอักเสบติดเชื้อเฉียบพลัน
จัดให้อวัยวะส่วนที่มีพยาธิสภาพอยู่นิ่ง (immobilize) มากที่สุด
การให้ยาปฏิชีวนะ
3.ให้อาหารพวก high protein, high calories และ high vitamin C
กระดูกอักเสบติดเชื้อเรื้อรัง
Antibiotic cement bead (Gentamycin PMMA)
การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
Rheumatoid arthritis
สาเหตุ
ปัจจัยส่งเสริมที่อาจเป็นสาเหตุของโรคนี้
infectious agents
Autoimmune defects
การรักษา
รักษาตามอาการ
พักและหยุดการเคลืjอนไหว
ด้วยยา NSAIDs เป็น first line drugs
Septic arthritis
สาเหตุ
ติดเชืhอกลุ่มแบคทีเรียทีjทําให้เกิดหนอง เชืhอทีjพบบ่อยทีjสุดคือ Staphylococcus aureusรองลงมา ได้แก่ Streptococcus
การรักษา
ให้ยาบรรเทาปวดกลุ่มที่ไม่ใช่ยาลดไข้
เพื่อประเมินผลของยาปฏิชีวนะ
การเจาะหรือดูดน้ำออกจากข้อ เป็นการลดแรงกดดันในข้อและกำจัดหนองทำให้อาการปวดข้อลดลง
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ผู้ป่วยรีบเคลื่อนไหวข้อภายหลังการผ่าตัดระบายหนองออก
กระบวนพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกติดเชื้อ
การซักประวัติ
การค้นหาปัจจัยเสี่ยง (finding risk factor)
ข้อมูลด้านประชากร (demographic data)
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน (present illness)
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (past illness)
ประวัติสุขภาพครอบครัว
ประวัติการใช้ชีวิต
การทบทวนประวัติตามระบบ
การตรวจร่างกาย
ลักษณะทั่วไป (General appearance)
ระบบผิวหนัง (Integumentary system)
แขนขา (Extremity)
ตรวจวัดเส้นรอบวง (circumference)
ฟังเสียงข้อ
ตรวจความมั่นคงของข้อ (stability)
ตรวจกําลังของกล้ามเนื้อที่ใช้ในการเคลื่อนไหว (motorpower)
ตรวจตําแหน่งที่ตั้งปกติของกระดูก (skeletal landmark)