Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยชาย อายุ 83 ปี
Moderate Dementia with Behavioral and Psychological…
ผู้ป่วยชาย อายุ 83 ปี
Moderate Dementia with Behavioral and Psychological Symptoms of Dementia (BPSD)
ปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ในผู้ป่วยสมองเสื่อม
Malnutrition
ข้อมูลสนับสนุน
- SD: มีอาการหลงลืมว่ารับประทานอาหารแล้ว
- ไม่ยอมรับประทานอารหารคลื่นไส้อาเจียนบ่อย
- ดื่มเหล้าทุกวันเป็นเวลามากกว่า 50 ปี ปริมาณ 1-2 ขวดต่อวัน
- สองเดือนก่อนกลับมาดื่มเบียร์ทุกวัน วันละ 2 กระป๋อง
- OD : รูปร่างผอม
- BMI = 18.2 kg/m2
- ผิวแห้ง
-
Delirium
ข้อมูลสนับสนุน
- SD: ผู้ป่วยบอกว่ามีขโมยเข้าบ้านจึงเอาปืนที่ซ่อนไว้ใต้หมอนยิงเข้าไปในบ้าน
- ญาติบอกว่าจะแสดงอารมณ์หงุดหงิด โมโหร้าย ใช้คำหยาบ
- หลงลืมระหว่างทางกลับบ้านระหว่างบุตรสาวกับบ้านสวน
- ทะเลาะกับญาติบ่อยครั้ง
- ตกจากรั้วขณะปีนหนีออกจากบ้าน
- OD: TMSE 22/30 คะแนน (มีภาวะสมองเสื่อม)
- MoCA 16/30 คะแนน (มีภาวะพุทธิปัญญาบกพร่องเล็กน้อย)
NDX 1 : เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น พลัดตกหกล้ม, พลัดหลงสูญหาย, ก่อความรุนแรงทั้งต่อตนเองและผู้อื่นเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในด้านเชาว์ปัญญา
กิจกรรมการพยาบาล
- ซักประวัติและตรวจร่างกายของผู้ป่วย ร่วมกับการซักประวัติข้อมูลจากผู้ดูแลผู้ป่วยโดยใช้หลักการของ Comprehensive Geriatric Assessment: CGA ได้แก่
- การประเมินทางกาย (physical assessment) ได้แก่ การซักประวัติ ผู้ป่วย ผู้ดูแลหลักครอบครัว อาการประวัติปัจจุบัน โรคประจำตัว การรักษาที่กำลังได้รับอยู่ ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเดิมที่เจ็บป่วยอยู่ ความเสี่ยงต่อกลุ่มอาการที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ (geriatric syndrome)
- การประเมินทางสมองและจิตใจ (psychological and mental assessment) ได้แก่การประเมินด้านอารมณ์ จิตประสาท กระบวนการคิด การรู้คิด สติปัญญา ภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน ภาวะซึมเศร้า
- การประเมินทางสังคมและสิ่งแวดล้อม (social and environment asessement) ได้แก่การประเมินสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย ความเสี่ยง การเข้าถึงสถานบริการทางสุขภาพ ครอบครัวผู้ดูแล สัมพันธภาพ ฐานะการเงิน สิทธิการรักษา
- ประเมินความสามารถในการดูแลตนเอง (functional assessment) ได้แก่ การประเมินความสามารถในการมีกิจวัตรประจำวันในระดับพื้นฐาน (basic activity of daily living) ขั้นสูง (instrumental activity of daily lving) เพื่อสรุป ปัญหาและวางแผนการพยาบาล
- แนะนำให้ครอบครัวปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับผู้ป่วยสมองเสื่อม เพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม เช่น ให้มีแสงสว่างเพียงพอ พื้นไม่ลื่น ไม่มีพื้นต่างระดับ มีราวจับที่ในห้องน้ำ เป็นต้น
- แจ้งให้เพื่อนบ้านในละแวกเดียวกันให้ทราบว่าผู้ป่วยสูงอายุสมองเสื่อม เพื่อจะได้คอยสอดส่องดูแล หรือนำส่งบ้านหากผู้ป่วยหนีออกจากบ้านคนเดียว ป้องกันการหายโดยติดชื่อ เบอร์โทรศัพท์ของผู้ดูแลไว้ในเสื้อ โดยที่ผู้ป่วยไม่ทราบ หากสูญหายจะได้นำส่งกลับบ้านได้ถูกต้อง
- ประสานงานกับทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น นักกายภาพบำบัด พยาบาลเยี่ยมบ้าน อาสาสมัครชุมชนในการช่วยเหลือติดตามการดูแลอย่างต่อเนื่อง
- ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
- Donepezil hydrochloride (5) 1x1 oral hs.
- Memantine (10) 1x2 oral pc
Hallucination
ข้อมูลสนับสนุน
- SD: ผู้ป่วยบอกว่ามีขโมยเข้าบ้าน
- หวาดระแวงว่าจะมีขโมย
- เห็นผู้ชาย ผู้หญิงมานั้งในบ้าน
- OD: TMSE 22/30 คะแนน (มีภาวะสมองเสื่อม)
- MoCA 16/30 คะแนน (มีภาวะพุทธิปัญญาบกพร่องเล็กน้อย)
-
พร่องกิจวัตรประจำวัน
ข้อมูลสนับสนุน
- SD: ทำกิจวัตรประจำวันต่างๆได้บ้าง แต่บางวันต้องคอยกำกับให้ทำทีละขั้นตอน
- ใช้รีโมทเปลี่ยนช่องทีวีไม่ได้แต่สามารถเปิดทีวีได้
- รับประทานอาหาร หรืออาบน้ำไม่ได้เป็นบางเวลา
-
พร่องความรู้
ข้อมูลสนับสนุน
- SD : ครอบครัว/ผู้ดูแลไม่เข้าใจความหมายของพฤติกรรม อารมณ์ที่ป่วยแสดงออกมา
- ครอบครัว/ผู้ดูแลไม่สามารถจัดการกับปัญหาพฤติกรรม อารมณ์ที่ป่วยแสดงออกมา
- ผู้ดูแลมักจะทะเลาะขัดแย้งกับผู้ป่วย
NDx. 5 ญาติหรือผู้ดูแลขาดความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ในผู้ป่วยสมองเสื่อม
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินครอบครัว/ผู้ดูแล จากการสอบถามพูดคุย ในด้านต่างๆ ได้แก่
- ข้อมูลทั่วไป เช่น อายุ เพศ ความสัมพันธ์กับผู้ป่วย เวลาที่มีในการดูแลผู้ป่วย อาชีพ รายด้าน ครอบครัวของผู้ดูแล
- ข้อมูลทางด้านร่างกาย เช่น โรคประจำตัว ภาวะสุขภาพ
- ข้อมูลทางด้านจิตใจ เช่น บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย อารมณ์ ความรู้สึกกดดัน
- ข้อมูลทางด้านสังคม เช่น ภาระความรับผิดชอบที่ต้องดูแลทุกด้าน ความรู้ ทักษะในการดูแล สถานะทางเศรษฐกิจ การเข้าถึงแหล่งประโยชน์
- อบรมให้ความรู้ผู้ดูแล เกี่ยวกับภาวะปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์อันเนื่องมาจากภาวะสมองเสื่อม การดำเนินโรค พยากรณ์โรค ปัญหาต่างๆ ที่อาจจะ เกิดกับผู้ป่วยและการแก้ไขเบื้องต้น ตลอดจนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการ แก้ไขปัญหาต่างๆ ตลอดจนการฝึกผ่อนคลายความเครียด ฝึกทักษะการทำ กิจกรรมกระตุ้นการรู้คิดด้านต่างๆ การทำกายภาพบำบัด การดูแลกิจวัตรประจำวัน
- ประเมินความรู้ย้อนกลับหลังได้รับการอบรม เพื่อเพิ่มรายละเอียดการดูแลในส่วนที่ผู้ดูแลยังบกพร่อง
Depression
ข้อมูลสนับสนุน
- SD : ผู้สูงอายุมีอาการซึม พูดน้อยลง ไม่ยอมรับประทานอาหาร
- ร้องไห้แล้วบอกบุตรสาวว่าอยากอยู่คนเดียว
-
-
-
-
-
-