Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อ HIV ในวัยรุ่น - Coggle Diagram
การติดเชื้อ HIV ในวัยรุ่น
สภาพแวดล้อม
ความเชื่อและค่านิยมในเรื่องเพศสัมพันธ์
แหล่งบันเทิง
อิทธิพลของสื่อ
นโยบาย
การให้ความสำคัญต่อการลดอัตราการติดเชื้อเอชไอวีจากมารดาสู่ทารกอย่างต่อเนื่อง
เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจและบูรณาการ การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
การเข้ารับการตรวจเชื้อและให้คำปรึกษา
สังคม วัฒนธรรม
การรับรู้ มุมมอง ความคิด ทัศนคติ หรือได้รับประสบการณ์ที่ไม่ดีจากผู้อื่น
การถูกตำหนิ ทำให้รู้สึกอาย ไม่มีคุณค่า
มีการเลือกปฏิบัติที่ไม่เท่าเทียมหรือไม่เป็นธรรมต่อปัจเจกบุคคล
ถูกสังคมรังเกียจ ยังไม่ยอมรับ
การทำงาน / การศึกษา
การอยู่ร่วมกัน การทำกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ไม่ได้ทำให้มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี
เทคโนโลยี การสื่อสาร
สิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจ
ระบบ / กลไก
ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบจำลองข้อมูลข่าวสาร แรงจูงใจ และทักษะการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
กรอบแนวคิดการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
กิจกรรมสร้างเสริมความรอบรู้ด้านเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศ
ระบบบริการสุขภาพ
คลินิกให้การปรึกษาก่อนและหลังตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี
คลินิกให้การปรึกษาเตรียมความพร้อมก่อนการรับยาต้านไวรัสเอดส์
คลินิกให้การปรึกษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
คลินิกยาต้านไวรัสเอดส์
คลินิกให้การปรึกษาวัยรุ่น
บริการให้การปรึกษาการเปิดเผยผลเลือดกับเด็ก
บริการปรึกษาต่อเนื่องในการดูแลรักษา ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและฟื้นฟูสภาพ
บริการปรึกษายาต้านไวรัสรายเก่าเพื่อส่งเสริมและ
สนับสนุนการกินยาต้านไวรัส
อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.)
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ (สสอ.)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.)
ระบบหลักประกันสุขภาพ
สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สิทธิบัตรทอง)
ระบบสาธารณสุขมูลฐาน
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
แกนนำสุขภาพครอบครัว(กสค.)
ระบบสุขภาพชุมชน
การป้องกันและควบคุมชุมชน
การตรวจเอชไอวี
การรักษา
ระบบ กลไกท้องถิ่น กองทุนตำบล
กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
ปัจเจกบุคคล
กลุ่มวัยรุ่นและเยาวชน
วัยรุ่นตอนต้น อายุ 10-13 ปี
วัยรุ่นตอนกลาง อายุ 14-17 ปี
วัยรุ่นตอนปลาย 18-24 ปี
กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย
กลุ่มผู้ที่มีเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
กลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีด
ความรู้ / ความรอบรู้ทางสุขภาพ
ใช้ถุงยางอย่างถูกวิธีทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์
การเลือกถุงยางอนามัย
การเก็บถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธี
การรับเชื้อจากมารดาที่ติดเชื้อ HIV ซึ่งมีโอกาสได้รับเชื้อ 3 ช่วง คือ ขณะตั้งครรภ์ ระหว่างคลอด และกินนมแม่
วิธีป้องกัน
รักเดียวใจเดียว
เลิกยาเสพติดทุกชนิด
กลุ่มหญิงข้ามเพศที่ไม่ป้องกัน
พฤติกรรม
การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน ซึ่งพบบ่อยในกลุ่มของผู้ที่เสพสารเสพติด หรือฉีดเข้าเส้น
เปลี่ยนคู่นอนบ่อย / มีคู่นอนหลายคน
การที่มีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่มีเชื้อ HIV โดยไม่สวมถุงยางอนามัย
การเจาะ การสักตามร่างกาย ที่ไม่ผ่านการฆ่าเชื้อโรค
การสัมผัสเลือดหรือน้ำเหลืองของผู้ติดเชื้อ HIV