Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุป ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ มาตรา 6, 10,7 - Coggle Diagram
สรุป ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
มาตรา 6, 10,7
เจ้าหน้าที่กระทำละเมิดนอกการปฏิบัติหน้าที่
(มิใช่ในการปฏิบัติหน้าที่)
เป็นการกระทำนอกเวลาราชการ
กระทำไปในทางส่วนตัว
กระทำในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ แต่มีเจตนากระทำในฐานะส่วนตัว
ละเมิดบุคคลภายนอก มาตรา 6
ฟ้องเจ้าหน้าที่ผู้กระทำละเมิดเป็นการเฉพาะตัว
ฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรม
กรณีละเมิดบุคคลภายนอก
มีสิทธิเรียกร้องให้เจ้าหน้าที่รับผิดตาม ปพพมาตรา 420 +ม 6 แห่งพรบความรับผิด
อายุความ 1 ปี แต่ไม่เกิน 10 ปี (ปพพม.448)
** ในคดีที่ผู้เสียหายฟ้องเจ้าหน้าที่ ถ้าจนทเห็นว่าเป็นเรื่องที่หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดหรือต้องร่วมรับผิด
จนทมีสิทธิร้องขอให้ศาลเรียกหน่วยงานของรัฐเข้ามาเป็นคู่ความในคดีได้ มาตรา 7ว1
กรณีศาลยกฟ้องเนื่องจากเจ้าหน้าที่ที่ถูกฟ้องไม่ใช่ผู้ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน -> อายุความในการฟ้องร้องผู้ที่ต้องรับผิดแต่ไม่ได้ถูกเรียกเข้ามาในคดี ขยายออกไป 6 เดือนนับแต่วันที่คำพพษถึงที่สุด ม7 ว2
กรณีละเมิดหน่วยงาน
มีสิทธิเรียกร้องให้เจ้าหน้าที่รับผิดตาม ม420+ม10 แห่งพรบละเมิดจนท
อายุความ 1 หรือ2 ปี แต่ไม่เกิน 10ปี (ม10ว2)
มาตรา 6 วางหลักว่า
เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดต่อผู้เสียหายเป็นส่วนตัว
ฟ้องเจ้าหน้าที่โดยตรง
ฟ้องหน่วยงานรัฐไม่ได้
ละเมิดหน่วยงาน มาตรา 10
ห้ามออกคำสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตามมาตรา 12
มาตรา 10 ว1 มีหลักเกณฑ์คือ กรณีมิใช่การกระทำในการปฏิบัติหน้าที่
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งประมวลกมแพ่งและพาณิชย์
เจ้าหน้าที่กระทำละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่ต่อ
หน่วยงาน
มาตรา 10 ให้นำมาตรา 8 มาใช้โดยอนุโลม
เจ้าหน้าที่ประมาทเลินเล่อธรรมดา
ไม่ต้องรับผิด ตกเป็นพับแก่หน่วยงาน
เจ้าหน้าที่จงใจ/ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
หน่วยงานฟ้องคดีต่อศาล
ศาลยุติธรรม
ศาลปกครอง
หน่วยงานใช้สิทธิเรียกร้องทางปกครอง
ออกคำสั่งทางปกครองให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ม12
เจ้าหน้าที่ไม่ชำระ
ใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
เจ้าหน้าที่เห็นว่าคำสั่งไม่ชอบด้วยกฎหมาย
เพิกถอนคำสั่ง
ฟ้องศาลปกครอง