Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หมวด 3 ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ตลาดทุนตราสารทั่วไป - Coggle Diagram
หมวด 3 ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ตลาดทุนตราสารทั่วไป
1.การประเมินมูลค่าอัตราผลตอบแทนกองทุนรวม
2.ส่วนต่างราคา หากยังไม่ได้ขายหน่วยลงทุน กำไรขาดทุนคือการเปลี่ยนแปลงราคา
=NAVปลาย-NAVต้น
*หากต้องการอัตราผลตอบแทน
=(NAVปลาย-NAVต้น)/NAVต้นงวด
มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ (์NAV) =มูลค่าตลาด+รายได้ค้างรับ+เงินสด-หนี้สิน
เงินปันผล > 1 ครั้งได้ หรือไม่จ่ายก็ได้
4.ผลตอบแทนรวม
=NAVปลาย+เงินปันผล-NAVต้น
1.Total Expense Ratio (TER) ค่าใช้จ่ายต่อสินทรัพย์ทั้งหมด TER ขนาดใหญ่ < ขนาดเล็ก เชิงรับ > เชิงรุก TER =ค่าใช้จ่ายกอง/มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ *100
5.มูลค่าทรัพย์สินการลงทุน (NAV) =(มูลค่าทรัพย์สินทั้งหมด +ผลประโยชน์) -ค่าใช้จ่าย
*NAV ต่อหน่วย (÷) จำนวนหน่วยลงทุน
2.การประเมินมูลค่าอัตราผลตอบแทนตราสารหนี้
2.2 โจทย์ให้ดอกเบี้ย และหาผลตอบแทนจากการลงทุน =ดอกเบี้ย/ราคาPar*100
2.3 ดอกเบี้ยต้องการ > ดอกเบี้ย Par ราคา(น้อย) Discount/ดอกเบี้ยต้องการ < ดอกเบี้ย Par ราคา(มาก) Premium
2.1 ผลตอบแทนจากอัตราดอกเบี้ย =ดอกเบี้ย(ราคาPar)/ราคาตลาด
2.4.การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือตราสารหนี้ =หนี้สิน/ส่วนของเจ้าของ
2.5 Dulation กับอัตราดอกเบี้ย (Dulation ไปทางเดียวกับราคา) ดอกเบี้ย(ขึ้น) ราคา(ลดลง) Dulation (ลดลง)
ดอกเบี้ย(ลง) ราคา(เพิ่ม) Dulation (เพิ่ม)
*ถ้าอัตราดอกเบี้ยจะลดลง ลงทุนอายุคง(เยอะ) ดอกเบี้ย(ต่ำ)
2.6 อายุ(น้อย)<อายุ(มาก) ดอกเบี้ย(น้อย)>ดอกเบี้ย(มาก)
2.7 สัญลักษณ์ตราสารหนี้ระยะสั้น ชื่อ คศ เดือน (วัน) รุ่น ระยะยาว เหมือนกันต่างกันตรง ไม่มีวัน
2.8 สรปป กระจายความเสี่ยง รายได้ เปลี่ยนมือ ปลอดภัย
2.9 สิ่งที่ต้องมี อัตรา ราคา/พาร์ ออก ครบ สัญญา
2.10 พันธบัตรรัฐบาล
พันธบัตรรัฐบาล(การคลัง) ประมูลโดยธปท.
พันธบัตรธปท.(ธปท.) ประมูลโดยธปท.
1.แข่งขันราคา American หลาย Yield เลือก(ต่ำสุด) 2.ไม่แข่งขันราคา เอาเฉลี่ยประมูลครั้งแรก
2.11 พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ
สำนักงานบริหารหนี้(ไม่มีรัฐค้ำ กลต.ดูแล)
ประมูลราคาเดียว เลือก Yield ต่ำสุด
2.12 ผู้ค้ากับผู้ค้า (Dealer To Dealer) ผู้ค้ากับผู้ลงทุนสถาบัน (Dealer To Client)
2.13 ซื้อขาย 100 ไม่เกิน 10,000หน่วย หรือ 100,000-100 ล้านบาท
2.14 รูปแบบการซื้อขายในตลาดแรก PO PP
2.15 ซื้อขายผ่าน TBX โดยใช้ราคา Dirty Price/Gross (ราคารวมดอกเบี้ยค้างรับ) โดยมี TCH เป็นผู้ดูแล
2.16 PO ต้องทำ Filling/Credit Rating/PP ไม่จำเป็นต้องทำ Credit Rating *ตั๋วแลกเงิน ไม่ต้องทำอะไรเลย ขายแบบ PP PO
3.การประเมินมูลค่าอัตราผลตอบแทนตราสารทุน
3.4 Delta =ราคาWR/ราคาหุ้น ความอ่อนไหว WRกับหุ้น *เข้าใกล้ (0) ไม่อ่อนไหว
3.5 Leverage =Gearing(Delta) การปรับตัว แปรผันตามกัน
3.3 Gearing (อัตราทด) =ราคาหุ้น/ราคาWR หุ้นสูงกว่า WR กี่เท่า
3.6 มูลค่าทางบัญชี (Book Value) =สินทรัพย์-หนี้สิน *หาผลตอบแทนต่อหุ้น สินทรัพย์-หนี้สิน/จำนวนหุ้น
3.2 Premium (ส่วนเกินราคา) =ราคาWR-(ราคาตลาด-ใช้สิทธิ)/ราคาตลาด ใช้สิทธิWRดีกว่าหุ้นไหม *เป็น (-) ผ่าน WR ดีกว่า
3.7 มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ =หนี้สิน+ทุน หรือ ราคาตลาด-หนี้สิน
3.1 มูลค่าWarrant =(มูลค่าราคาตลาด-มูลค่าใช้สิทธิ)+มูลค่าเวลา
3.8 PE Ratio ซื้อหุ้นกี่เท่าของกำไร PE=P/EPS
3.10 *โจทย์ถามควรซื้อเท่าไร 2.5 เงินปันผลเท่ากันทุกงวด =เงินปันผล/ผลตอบแทน
3.9 BV Ratio จ่ายแพงกี่เท่าของราคาหุ้น BV=P/BVP
3.14 หาอัตราผลตอบแทนเปรียบเทียบ 1.หาจำนวนหุ้น 2.ปลาย-ต้น/ต้น
3.13 ราคาหุ้นหลังเพิ่มทุน =หุ้นเก่า(ราคาเก่า)+หุ้นใหม่(ราคาใหม่)/(หุ้นเก่า+หุ้นใหม่)
3.12 หากโจทย์ถามห่กำไรที่เพิ่มขึ้น =กำไรที่คิดได้+ต้นทุน
3.11 *โจทย์ถามควรซื้อเท่าไร 2.6 เงินปันผลไม่เท่ากัน =เงินปันผล(1+อัตราเติบโต)/อัตราผลตอบแทน-อัตราเติบโต
ความรู้เกี่ยวกับตราสารทุน
1.กิจการคนเดียว
2.ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน จดทะเบียน (ร่วมกันใช้หนี้) 3.ห้างหุ้นส่วนจำกัด (จำกัดหนี้/ไม่จำกัดหนี้)
4.บริษัทจำกัด 3 คนขึ้นไป (หนี้ที่ยังส่งไม่ครบ)
5.บริษัทมหาชน =5 คนขึ้นไป เสนอขายหุ้นประชาชน
*บริษัทจำกัดและมหาชน ออกเพื่อเสนอขายหุ้น
อัตราเงินปันผล =เงินปันผล/กำไร
100
อัตราผลตอบแทน =ผลตอบแทน/ต้นทุน
100
Corporate Action
2.การเพิ่มโดยใช้ WR *Dilution เมื่อใช้สิทธิแล้ว
3.การเพิ่มโดยใช้ WR โอนสิทธิได้ *Dilution เมื่อใช้สิทธิแล้ว
(ขายกับ RO)
1.การเพิ่มทุน หุ้นมาก ราคาลดลง กำไรลดลง *Dilution
4.EJIP ขายกับพนักงาน
5.การลดทุน หนี้เกินต้องล้างขาดทุน
ลดPar
ลดจำนวนหุ้น
6.การแตกหุ้น ราคา(ลดลง) หุ้น(เยอะ) สภาพคล่อง(สูง) 7.การรวมหุ้น ราคาหุ้น(เพิ่ม) หุ้น(น้อย) สภาพคล่อง(ต่ำ)
WR DW อ้างอิง ประเภท/อายุ อัตรา ราคา จำนวน
สิทธิซื้อ สิทธิขาย/จำกัดขาดทุน
ราคาอ้างอิง(เพิ่ม) Call(เพิ่ม) Put(ลด)
ราคาใช้สิทธิ(เพิ่ม) Call(ลด) Put(เพิ่ม)
อายุุ ความผันผวน แปรผัน Call Put
ดอกเบี้ย แปรผัน Call