Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและหลักการของการพยาบาลฉุกเฉิน/ภัยพิบัติ - Coggle Diagram
แนวคิดและหลักการของการพยาบาลฉุกเฉิน/ภัยพิบัติ
หลักการการพยาบาลฉุกเฉิน
1. Pre hospital phase
ใช้หลักการ star of life
Response
: การตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
การคัดแยกความรุนแรงของเหตุที่แจ้ง (priority dispatch)
กลุ่มสีเหลือง: Urgency
กลุ่มสีเขียว: Semi-urgent
กลุ่มสีแดง: Emergency
จัดส่งทีมปฏิบัติการช่วยเหลือและรถพยาบาลฉุกเฉิน
ทีมกู้ชีพขั้นพื้นฐาน: บาดเจ็บฉุกเฉินแต่ไม่เร่งด่วน
ทีมกู้ชีพขั้นสูง: คุกคามต่อชีวิต
On Scene care
: การรักษาพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุ
1. ประเมินสถานการณ์ (Scene size-up)
: สิ่งสำคัญมากเป็นการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ
2. การประเมินผู้บาดเจ็บเบื้องต้น (initial assessment)
เพื่อค้นหาภาวะคุกคามต่อชีวิต ใช้เวลาไม่เกิน 60-90 วินาที
2.1 ประเมินระดับความรู้สึกตัว: AVPU
2.2 ประเมินสภาพทั่วไป: อาการที่ผิดปกติที่คุกคามถึงชีวิต
2.3 ประเมิน Airway:
สิ่งที่ต้องปฏิบัติเป็นอันดับแรกสำหรับผู้บาดเจ็บ
2.4 ประเมิน Breathing:
<10ครั้ง/นาที หรือ >20 ครั้ง/นาที: O2 mask with reservoir bag ออกซิเจน 11ลิตร/นาที
หายใจลำบาก,หยุดหายใจ: bag-valve-mask; BVM ต่อกับ self-inflating bag ออกซิเจน 11 ลิตร/นาที
2.5 ประเมินการไหลเวียนโลหิต: hemorrhagic shock
ช่วยเหลือเท่าที่จำเป็น/ใช้เวลาไม่เกิน 10 นาที
3. การประเมินผู้บาดเจ็บอย่างรวดเร็ว : DCAP-BTLS , SAMPLE
สิ่งที่สำคัญคือ ทีมช่วยเหลือต้องปลอดภัยก่อนเป็นอันดับแรก
Reporting
: การแจ้งเหตุขอความช่วยเหลือ
การโทร 1669
ข้อมูลสำคัญในการแจ้งเหตุขอความช่วยเหลือ
Airway: ทางเดินหายใจ
Breathing: การหายใจ
Mental status: ระดับความรู้สึกตัว
Circulation: การไหลเวียนโลหิต
Care in transit
: การขนย้าย/ดูแลระหว่างนำส่ง
การประเมินซ้ำ
ประเมิน A-B-C
การทำ DCAP-BTLS
V/S, O2 sat
การซักประวัติตามหลัก AMPLE
Detection
: การพบ/รับรู้ว่ามีเหตุ
การให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการตัดสินใจแจ้งเหตุเมื่อพบอุบัติเหตุและมีผู้บาดเจ็บ
Transfer to the definitive care
: การนำส่งสถานพยาบาล
I=Injury
การบาดเจ็บ
S=Signs and symptoms
อาการ
M=Mechanism
กลไกการบาดเจ็บ
T=Treatment
ให้การรักษาอะไรไปแล้วบ้าง
แนวคิด
การให้การพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุ ขณะเคลื่อนย้าย และนำส่งไปยังสถานพยาบาลที่เหมาะสม
เป้าหมายคือ
รักษาให้คนอยู่รอดได้มากที่สุดก่อนจะรักษาคนที่จะไม่รอด
วงจรการเกิดสาธารณะภัย
1.ระยะก่อนเกิดภัยพิบัติ
Mitigation: กิจกรรมที่ช่วยลดผละกระทบและความรุนแรง
Prepareness: การเตรียมแผนไว้ล่วงหน้า
Prevention: หลีกเลี่ยงขัดขวางไม่ให้เกิดภัยพิบัติ
Risk assessment: การวางแผนและดำเนินงานตามมาตรการ
2.ระยะขณะเกิดภัยพิบัติ
การตอบสนองต่อภัยพิบัติในทันที (emergency response)
3.ระยะหลังเกิด
Recovery ทั้งร่างกายและจิตใจ
DISASTER Patadigm
หลักการ DISASTER
A:Assess Hazards
การประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดเหตุซ้ำ
S:Support
การเตรียมการล่วงหน้า ศึกษาข้อมูลในอดีต
S:Safety and Security
ความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงาน
T:Triage/Treatment/Transport
คัดแยกตามความเร่งด่วน /รักษาส่งต่อ
I:Incident command
ระบบผู้บัญชาการ มีอำนาจสูงสุด
E:Evacuation
การอพยพผู้บาดเจ็บ
D:Detection
ประเมินว่าเกินกำลังความสามารถในการช่วยเหลือ
R:Recovery
การฟื้นฟูสภาพ
หลักการบริหารจัดการทางการแพทย์ ตามหลัก
MIMMS
A:Assessment
ประเมินความรุนแรงของสถานการณ์
T:Triage
การคัดกรองผู้บาดเจ็บ
C:Communication
การสื่อสาร ประสานงาน
E: Exact location
ตำแหน่งที่เกิดเหตุ
T: Type of incident
ชนิดของเหตุการณ์
M: Major incident
ลักษณะของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
H:Hazards
ความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ
A: Access
ข้อมูลการเดินทางเข้า ออกจากที่เกิดเหตุ
N: Number & severity
จำนวนผู้บาดเจ็บ
E: Emergency services
หน่วยฏิบัติการแพทย์ที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่แล้ว
T:Treatment
การรักษาพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุ
S: Safety
ความปลอดภัย
ความปลอดภัยของตนเองเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด
ทีมปฏิบัติการต้องทำงานในจุด Cold zone เท่านั้น
Transport
: การลำเลียงขนส่ง
C: Command &Control
ควบคุมสั่งการ
หน่วยปฏิบัติการที่ไปยังจุดเกิดเหตุเป็นหน่วยแรก ให้ทำหน้าที่เป็น Field commander
การแบ่งโซน
Hot/Red/Bronze zone
: พื้นที่ ณ จุดเกิดเหตุสำหรับปฏิบัติบัติภารกิจเฉพาะ
Warm/Yellow zone
: การกู้ชีพเบื้องต้นสามารถทำได้
Cold/Green zone
: การช่วยเหลือต่าง ๆ