Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิจัย
RESEARCH, 1.จินดามณี ฉบับความแปลก - Coggle Diagram
วิจัย
RESEARCH
ลักษณะจินดามณี
2.จินดามณี ฉบับความพ้อง
จินดามณีฉบับความพ้องมีหลายเล่มสมุดไทย โดยเป็นของหอสมุดไทยฯ ซื้อไว้บ้าง มีผู้บริจาคให้บ้าง ซึ่งส่วนใหญ่เนื้อความจะจะคล้ายคลึงกับจินดามณีเล่มแรก ที่พระโหราธิบดีเป็นผู้ประพันธ์ แต่ก็มีเนื้อหาที่แตกต่างกันบ้างในบางเล่ม
4.จินดามณี ฉบับหมอบรัดเล
จินดามณีฉบับนี้เป็นฉบับสำรวมใหญ่ คือ ตำราแบบเรียนภาษาไทยหล่ยเล่มมาพิมพ์ไว้ด้วยกัน เช่น ประถม ก.กา แจกลูก จินดามณี ประถมมาลา และประทานุกรม โดยหนังสือจินดามณีฉบับนี้ยังได้แทรกเรื่องคำอธิบายต่างๆ ทั้งคำราชาศัพท์ และเครื่องหมายวรรคตอนในภาษาอังกฤษเป็นหนึ่งในเนื้อหาของหนังสือจินดามณีด้วย
-
จินดามณี คืออะไร?
หนังสือ “จินดามณี” เป็นหนังสือแบบเรียนเล่มแรกของไทยที่ใช้ในการสอนหนังสือแต่งโดยพระโหราธิบดี เชื่อกันว่าใช้มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ชื่อที่ปรากฏเขียนแตกต่างกันเป็น จินดามนี จินดามุนี บ้าง แต่ที่ถูกต้องคาดว่าคือ “จินดามณี” ที่เป็นชื่อแก้วสารพัดนึกอย่างหนึ่ง
-
-
เนื้อหาประกอบด้วย
หนังสือจินดามณีมีเนื้อหาการเรียนการสอนพื้นฐานด้านอักขรวิทยา เช่นอักษรศัพท์ ว่าด้วยคำที่มักเขียนผิด ความหมายของคำศัพท์ที่ยืมมาจากภาษาบาลี-สันสกฤต และเขมร ยกตัวอย่างเช่น อักษร ส,ศ,ษ รวมไปถึงคำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย เป็นต้น นอกจากนี้ในหนังสือจินดามณียังมีบทประพันธ์ประเภทบทร้อยกรองต่างๆ อีกทั้งยังมีเนื้อหาที่เกี่ยวกับโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอนต่างๆ
อธิบายการแต่งคำประพันธ์ตามคำภีร์วุตโตทัย และกาพยืสารวิลาสินี โดยแสดงแผนผังและยกตัวอย่างจากวรรณคดีเรื่องต่างๆ รวมทั้งได้เขียน "ธรง" เป็นกาพย์สุรางคนางค์สำหรับให้จ่าคณะทั้งแปดที่กำหนดไว้ในการแต่งฉันท์
-
-
-
รวมคำศัพท์ที่มีเสียงพ้องกันแต่เขียนต่างกัน เช่น บารต บาท บาศ เป็นต้น โดยมีทั้งศัพท์ไทย บาลี สันสกฤต และเขมร รวมกัน เรียกว่า ศัพท์อักษร
-
-
-
-
-
1.จินดามณี ฉบับความแปลก
กล่าวว่า มีข้อความแปลจากฉบับอื่น โดยมีทั้งฉบับสมุดดำเส้นรงที่สมเด็จฯ กรมพระยาราชานุภาพประทานให้หอสมุดแห่งชาติ และฉบับที่เป็นสมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติอยู่แล้ว
-