Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการพื้นฐานและบทบาทหน้าที่ของพยาบาล - Coggle Diagram
หลักการพื้นฐานและบทบาทหน้าที่ของพยาบาล
หลักการพื้นฐานของการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ความจริงใจ ต้องแสดงให้ผู้ป่วยเห็นว่ามีความสนใจ เข้าใจและยินดีช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างจริงใจ
ความเชื่อมั่นในตนเองและหลักการที่ถูกต้อง สามารถตัดสินใจในการพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ
ความสม่ำเสมอในการติดต่อกับผู้ป่วยทั้งการกระทำ คำพูด การแสดงออกเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
ความอดทน เพราะบางครั้งผู้ป่วยมักไม่ให้ความร่วมมือหรือแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
ยอมรับพฤติกรรมของผู้ป่วยอย่างไม่มีเงื่อนไข
ความไว้วางใจได้ ผู้ป่วยจิตเวชมักจะไม่ไว้วางใจผู้อื่น พยาบาลจิตเวชต้องมีท่าทีอบอุ่นเป็นมิตร
ความรู้สึกนึกคิดของผู้ป่วย ตลอดจนอาการต่างๆ และกลไกการเกิดอาการทางจิต เป็นต้น
ความสนใจผู้อื่นและการปลี่ยนแปลงในสังคม จะช่วยให้พยาบาลเข้าใจบุคคล และสภาพแวดล้อมของบุคคลมากขึ้น
มีความรู้ความเข้าใจเที่ยวกับทฤษฎีทางจิตเวช จิตวิทยา สังคมวิทยา มนุษยวิทยา จะช่วยให้เข้าใจพฤติกรรม
ความสมดุลของอารมณ์ พยาบาลจิตเวชจะต้องมีอารมณ์มั่นคง ควบคุมอารมณ์ได้เมื่อได้รับปฏิกิริยาทางลบจากผู้ป่วย
ลักษณะและขอบเขตงานทั้ง 4 มิติ ของการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
การบำบัดรักษา
เช่น การสื่อสารเพื่อการบำบัด การทำกิจกรรมหรือกลุ่มบำบัด การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษารวมไปถึงการดูแลด้านสุขภาพร่างกาย ให้สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามความสามารถ เป็นต้น
การฟื้นฟูสภาพ
การฟื้นฟูสภาพจะกระทำควบคู่ไปกับการบำบัดรักษาเพื่อเสริมสร้างความสามารถของบุคคล แรงจูงใจหรือศักยภาพ ทำให้บุคคลสามารถช่วยเหลือตนเองและเปลี่ยนแปลงตนเองเพื่อกลับเข้าสู่การใช้ชีวิตสังคมได้กิจกรรมการฟื้นฟูสภาพจิตใจมี 3 ลักษณะ ได้แก่
2) กิจกรรมเพื่อฝึกหัดการอยู่ร่วมกันในสังคมใหม่ (resocialization) เกี่ยวกับการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคม
3) กิจกรรมเพื่อสร้างสรรค์คุณค่าให้กับตนเองใหม่ (re-establishment) เช่น การฝึกอาชีพ การหางาน การทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม
1) กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ใหม่ (re-education) เกี่ยวกับความเป็นจริง เกี่ยวกับตนและสังคม
การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต
การปฏิบัติการพยาบาล คือ พยาบาล
จะเป็นผู้ให้ความรู้ ช่วยเหลือ แนะนำในเรื่องการปรับตัว (Adaptation and Adjustment) การเผชิญปัญหา (Coping) การลดความวิตก กังวล ลดความเครียด รวมทั้งช่วยเหลือบุคคลในภาวะวิกฤต
การส่งเสริมสุขภาพจิต
การปฏิบัติการพยาบาล คือ การให้ความรู้ประชาชนในเรื่องสุขภาพจิต เริ่มตั้งแต่การให้ความรู้และคำแนะนำก่อนสมรสในการมีคู่ครองที่เหมาะสม โรคทางพันธุกรรม การให้กำนิดทารกที่บิดามารดามีความพร้อม การเลี้ยงดูทารก เด็ก และวัยรุ่นให้เจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและจิตใจ พัฒนาการของบุคคลทุกวัย ความต้องการและการตอบสนองความต้องการของบุคคล
การมีสุขภาพที่ดี
การมีครอบครัวที่อบอุ่น
มีอารมณ์ที่เหมาะสม
มีความไว้วางใจผู้อื่น
มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความมั่นคงทางจิตใจ
ยอมรับตนเอง ให้ความรักแก่บุคคลอื่นๆ
สามารถเผชิญปัญหาและสามารถปรับตัวได้
Psychiatric Nursing Team
Attendant
ด้านการรักษาพยาบาล
ดูแลด้านสุขวิทยาส่วนบุคคลของผู้ป่วย
ดูแลเรื่องการรับประทานอาหาร
3.ดูแลและช่วยเหลือในการพยาบาล ดูแลผู้ป่วยไม่ให้ทำร้ายตนเอง ไม่ให้หลบหนี
ไม่ให้ทะเลาะวิวาท นำผู้ป่วยเข้ากลุ่มกิจกรรม ตามผู้ป่วยพบญาติ
ด้านงานบ้าน
ดูแลทำความสะอาดหอผู้ป่วยและห้องทำการรักษา
ตรวจนับอุปกรณ์ในการจัดเลี้ยงอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องนอน
เบิกพัสดุตามที่พยาบาลดำเนินการเบิกให้
ไปรับอาหารจากโรงครัว
ดูแลอาคารสถานที่
Psychiatric Team
Psychiatric
เป็นหัวหน้าทีมการรักษาทางการพยาบาลจิตเวช
ให้ความรู้ทางสุขภาพจิตแก่บุคลากรทางการแพทย์ สาธารณสุข ครูและประชาชนทั่วไป
ให้การวินิจฉัยทางการแพทย์แก่บุคคลซึงมีปัญหาสุขภาพจิต ตรวจสภาพจิต ตรวจร่างกายโดยทั่วไป
ตรวจด้วยวิธีพิเศษอื่นๆ เช่น ตรวจคลื่นสมอง
ให้การรักษา แพทย์จะเป็นผู้พิจารณาตัดสินใจสังการรักษาตามสาเหตุและอาการของโรค เช่น การรักษาด้วยยา การรักษาด้วยไฟฟ้า
Psychiatric
Psychiatric Social Worker
Psychiatric Nurse
Clinical Therapist
Active Therapist
Professional Nurse
หน้าที่ประเมินความต้องการของผู้ป่วย คัดกรองและส่งต่อกรณีฉุกเฉินวางแผนการปฏิบัติการพยาบาล สนทนากับผู้ป่วยเพื่อการบำบัด ผู้นำกลุ่มกิจกรรมต่างๆให้การรักษาตามแผนการรักษา บันทึกพฤติกรรมของผู้ป่วย ประสานงานกับทีมบุคลากรในการรักษา
ระดับของพยาบาลที่ปฏิบัติงานทางคลินิก
ระดับพื้นฐานหรือระดับรอง
เสมือนตัวแทนสังคม
เสมือนผู้ให้คำปรึกษา
เสมือนตัวแทนของแม่
บทบาททางการบำบัดรักษาพยาบาล
ผู้จัดสรรคสิ่งแวดล้อมเพื่อการรักษา
เสมือนครู
บทบาทขั้นสูงหรือระดับผู้เชี่ยวชาญ
เป็นผู้ฟื้นฟูสภาพ
เป็นผู้ให้ความรู้
เป็นผู้บำบัดรักษาเบื้องต้น
เป็นผู้นำในการบำบัด
เป็นผู้ติดต่อให้ความร่วมมือ
เป็นผู้นิเทศน์งาน
เป็นที่ปรึกษา
จิตเวชชุมชน
เพื่อส่งเสริมและคงไว้สุขภาพจิตที่ดีและฟื้นฟูสมรรถภาพในกลุ่มที่ยังคงมีอาการทางจิตหลงเหลืออยู่
ความหมายของงานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน
งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน หมายถึง การส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันภาวะการเจ็บป่วยทางจิตใจ อารมณ์ให้แก่ประชาชนโดยวิธีการป้องกัน ลดและขจัดสาเหตุที่ก่อให้เกิดความเจ็บป่วยทางจิตเวชและอารมณ์ ป้องกันความพิการโดยอาศัยหลักการป้องกัน 3 ระยะ ได้แก่
• Primary prevention
• Secondary prevention
• Tertiary prevention
เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยใหม่ ลดอัตราผู้ป่วยที่มีอยู่แล้วในชุมชนและลดความพิการที่เกิดจาการเจ็บป่วยนั้นๆ
หลักการเบื้องต้นของงานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน
บริการสุขภาพจิตและจิตเวชมีความจำเป็นสำหรับทุกคนที่ต้องการความช่วยเหลือจึงต้องให้บริการตามลักษณะตามความต้องการเฉพาะกลุ่ม
สุขภาพจิตชุมชน
บริการแก่ชุมชนแบบเบ็ดเสร็จและต่อเนื่อง
ทุกคนในชุมชนต้องมีส่วนร่วมเพื่อสุขภาพจิตขิงคนในชุมชน
กระบวนการพยาบาลแบบองค์รวมแก่บุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การวินิจฉัยสุขภาพจิตชุมชน
การประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพจิตชุมชน