Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ - Coggle Diagram
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒
หมวด ๑ บททั่วไปความมุ่งหมายและหลักการ
มาตรา ๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปดพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งมั่นปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิเสรีภาพ เคารพกฎหมาย ความเสมอภาคและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
มาตรา ๘ การจัดการศึกษาให้ยึดหลัก ดังนี้
๑.เป็นการศกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
๒.ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
๓.การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
มาตรา ๙ การจัดระบบ โครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลัก ดังนี้
๑.มีเอกภพด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ
๒.มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา
๓.มีการกำหนดมาตราฐานการศึกษาและจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา
๔.มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
๕.ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆมาใช้ในการจัดการศึกษา
๖. การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน
หมวด ๒ สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา ๑๐ การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
มาตรา ๑๑ บิดา มราดาหรือผู้ปกครองบุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ
มาตรา ๑๒ นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา ๑๓ บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีสิทธิประโยชน์ ดังต่อไปนี้
๑.การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูและการศึกาาแก่บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแล
๒.เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลของครอบครัว
๓.การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสำหรับค่าใช่จ่ายการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด
มาตรา ๑๔ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสิทธิประโยชน์ตามควรแก่กรณี
หมวด ๓ ระบบการศึกษา
มาตรา ๑๕ การัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
๑.การศึกษาในระบบ
๒.การศึกษานอกระบบ
๓.การศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรา ๑๖ การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพิ้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
๑.การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกาาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อน ระดับอุดมศึกษา การแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
๒.การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ คือ ระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา
มาตรา ๑๗ ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวน 9 ปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่17 เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอายุย่างเข้าปีที่16 เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่9 ของการศึกษาภาคบังคับ
มาตรา ๑๘ การจัดศึกษาประถมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานให้จัดในสถานศึกษา ดังต่อไปนี้
๑.สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
๒.โรงเรียน
๓.ศูนย์การเรียน
มาตรา ๑๙ การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้จัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัยหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น
มาตรา ๒๐ การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในการศึกษาของรัฐ สถานศึกษาเอกชน สถานประกอบการ
มาตรา ๒๑ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ อาจจัดการศึกษาเฉพาะทางตามความต้องการและความชำนาญของหน่วยนั้นได้
หน่วย ๔ แนวการจัดการศึกษา
มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตัวเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญสุด
มาตรา ๒๓ การจัดการศึกษา ทั่งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการ
มาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานดำเนินการ
มาตรา ๒๕ รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดตั้งแหลงการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกศาสตร์อุทยานวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี
มาตรา ๒๖ ให้สถานศึกษาจัดประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากการพัฒนาของผู้เรียนความประพฤติ การสังเกตุพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมการทดสอบ ควบคู่ไปใในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสม
มาตรา ๒๗ ให้คณะกรรมการสถานศึกษษขั้นพื้นฐานกำหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทน
มาตรา ๒๘ หลักสูตรการศึกษาระดับต่างๆ รวมทั้งหลักสูตรการศึกษาสำหรับบุคคลตามมาตรา ๑๐
มาตรา ๒๙ ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบ และสถาบันสังคม ส่งเสริมความเข็มแข่งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายใน
มาตรา ๓๐ ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถให้ผู้สอนวิจัยเพื่อพัฒนาการนเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในระดับการศึกษา
หมวด ๕ การบริหารและจัดการศึกษา
ส่วนที่ ๒ การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรา ๔๑ องค์กรปกครองท้องถิ่นมีสิทธิจัดการศึกษาตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการภายในท้องถิ่น
มาตรา ๔๒ ให้กระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในการศึกษาขององค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น และมีหน้าที่ประสานงานส่งเสริมองค์กรปกครอง
ส่วนที่ ๓ การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
มาตรา ๔๓ ให้อิสระ โดยมีการกำกับติดตามและต้องปฎิบัติ ตามหลักเกณฑ์การประมินคุณภาพและมตราฐานการศึกษา
มาตรา ๔๔ ให้สถารศึกษาเอกชนตามมาตรา ๑๘(๒) เป็นนิติบุคคล และมีคณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน ผู้รับใบอณุญาติ ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนครู
มาตรา ๔๕ ให้สถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษาได้ทุกกระดับทุกประเภท ตามที่กฎหมายกำหนด ตามรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๔๖ รัฐต้องการให้สนับสนุนด้วยเงินอุดหนุน การลดหย่อนหรือการยกเว้นภาษีและสิทธิประโยชน์อน่างหนึ่งที่เป็นประโยชนืทางการศึกษาแก่สถานศึกษาเอกชนตามความเหมาะสม
ส่วนที่ ๑ การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
มาตรา ๓๑ กระทรวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและกำกับดูแลทุกระดดับ แต่ไม่รวมระดับอุดมศึกษา
มาตรา ๓๒ การจัดระเบียบ บริหารราชการในกระทรวง ได้แก่ สภาการศึกษา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคณะกรรมการอาชีวศึกษาเพื่อให้ความเห็น
มาตรา ๓๒/๑ กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มีอำนาจ หน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนน และกำกับอุดมศึกษา
มาตรา ๓๒/๒ การจัดระเบียบราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาตร์ วิจัยและนวัตกรรม ให้เป็นไปตามกฎหมายด้วยว่านั้น
มาตรา ๓๓ สภาการศึกษามีหน้าที่
๑.พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติที่บูรณาการ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม
๒.พิจารณาเสนอนโยบาย แผนมาตราฐานการศึกษาเพื่อดำเนินการศึกษาให้เป็นไปตามแผน
๔.ดำเนินการประเมินผลการจัดการศึกษาตามแผน
๕. ให้ความเห็นเกี่ยวกับกฎหมายและกฎกระทรวงตามพระราชบัญญัตินี้
๓. พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทัพยากร
มาตรา ๓๔ คณะกรรมการการศึกาาขั้นพื้นฐานมี่หน้าที่พิจารณา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานคณะกรรมการอาชีวศึกษามีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย หลักสูตรอาชีวสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
มาตรา ๓๕ ประกอบกรรมการจากตำแหน่งโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนองค์กรเอกชน องค์กรส่วนท้องถิ่น องค์กรวิชาชีพ ผู้ทรงคุณวุฒิมีไม่น้อยกว่ากรรมการประเภทอื่นรวมกัน
1 more item...
หมวด ๖ มาตราฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา ๔๗ ยกกำลัง ๒๑ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
มาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนนึงของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่าต่อเนื่อง
มาตรา ๔๙ ยกกำลัง๒๒ ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การมหาชนทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกและทำการประเมินผลการจัดการศึกษา ที่มิใช่การจัดการอุดมศึกษาซึ่งอยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม หรือกระทรวงอื่น
มาตรา ๕๐ ให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกับสถานศึกษาตลอดจนให้บุคลากรคณะกรรมการของสถานศึกษา
มาตรา ๕๑ ยกกำลัง๒๓ ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้ตามมาตรฐานที่กำหนดให้สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาจัดทำการปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัดเพื่อให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด
หมวด ๗ ครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๕๓ ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษามี ฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ ในกากับของ กระทรวง มีอำนาจหน้าที่กำหนดมาตรฐานวิชาชีพออกและเพิกถอนใบ อนุญาตประกอบวิชาชี
มาตรา ๕๔ ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู โดยให้ครูและบุคลากร ทางการศึกษาทั้งของหน่วยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษาของรัฐ และระดับเขตพื้นที่ การศึกษาเป็นข้าราชการในสังกัดองค์กรกลางบริหาร งานบุคคลของข้าราชการครู โดยยึดหลักการกระจายอำนาจการบริหารงาน บุคคลสู่เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา
มาตรา ๕๗ ให้หน่วยงานทางการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนให้มีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาโดยนำประสบการณ์ ความรอบรู้ ความชำนาญ และ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของบุคคลดังกล่าวมาใช้ เพื่อให้เกิดประโยชน์ทางการ ศึกษาและยกย่องเชิดชูผู้ที่ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา
มาตรา ๔๖ การผลิตและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนา มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ และการบริหารงานบุคคลของ ข้าราชการหรือพนักงานของรัฐในสถานศึกษาระดับปริญญาที่เป็น นิติบุคคล ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสถานศึกษาแต่ละแห่ง และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๕๒ ให้กระทรวงส่งเสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครูคณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการ เป็นวิชาชีพชั้นสูง โดยการกำกับและประสานให้สถาบันที่ทำหน้าที่ผลิต และพัฒนาครู คณาจารย์ รวมทั้งบุคลากรทางการศึกษาให้มีความพร้อม และมีความเข้มแข็งในการเตรียมบุคลากรใหม่
มาตรา ๕๑/๑ ยกกำลัง๒๔ คำว่า “คณาจารย์" ในหมวดนี้ ให้หมายความว่า บุคลากร ซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยในสถานศึกษาระดับ อุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน
มาตรา ๕๕ ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์เกื้อกูลอื่น สำหรับข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้มีรายได้ที่เพียงพอและ เหมาะสมกับฐานะทางสังคมและวิชาชีพ
หมวด ๘ ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
มาตรา ๕๔ ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สิน มาใช้จัดการศึกษาดังนี้
(๑) ให้รัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดมทรัพยากร โดย การเก็บภาษีตามความเหมาะสม
๒) ให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ระดมทรัพยากรโดย เป็นผู้จัดและมีส่วนร่วมในการบริจาคและมีส่วนร่วมรับภาระ ค่าใช้จ่ายตามความเหมาะสม
มาตรา ๕๙ ให้สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล มีอำนาจ ในการปกครอง ดูแลบำรุงรักษาใช้และจัดหาผลประโยชน์ จากทรัพย์สินของสถานศึกษา
มาตรา ๖๐ ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน เพื่อการศึกษาดังนี้
(๒) จัดสรรทุนการศึกษาในรูปของกองทุนกู้ยืมให้แก่ผู้ เรียนที่มาจากครอบครัวที่มี รายได้น้อยตามความเหมาะ สม
(๓) จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่นเป็นพิเศษ ให้เหมาะสมกับความจาเป็นสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการ
(๔) จัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายดำาเนินการ โดยให้มีอิสระในการ บริหารงบประมาณ ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงคุณภาพและความเสมอภาค
๕) จัดสรรงบประมาณในลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไปให้สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล
๖) จัดสรรกองทุนกู้ยืมดอกเบี้ยต่ำาให้สถานศึกษาเอกชน เพื่อให้พึ่งตนเองได้
(๑) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลที่เหมาะสม แก่ผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่จัดโดยรัฐและเอกชนให้เท่าเทียมกัน
๗) จัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษาของรัฐและเอกชน
มาตรา ๖๑ ให้รัฐจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคล ครอบครัว องค์กร ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ สถาบันสังคมอื่น ตามความเหมาะสมและความจําเป็น
มาตรา ๖๒ ให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพ การใช้จ่ายงบประมาณการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักการศึกษา
หมวด ๙ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๖๔ รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียน ตารา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเร่งรัดพัฒนา ขีดความสามารถในการผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิตและ มีการให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิต
มาตรา ๖๕ ให้มีการพัฒนำบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการ ศึกษาการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ
มาตรา ๖๖ ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถ เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเนื่อง ตลอดชีวิต
มาตรา ๖๘ ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจาก เงินอุดหนุนของรัฐ ค่าสัมปทาน และผลกาไร ที่ได้จากการดำาเนินกิจการ เสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรคมนาคมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินกองทุนเพื่อการผลิต การวิจัยเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา ให้เป็นไปตามที่กำาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๖๙ รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนส่งเสริมและประสานการวิจัย การพัฒนาและการใช้ รวมทั้งการ ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพ
มาตรา ๖๓ รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ และโครงสร้างพื้นฐานอื่น ที่จำเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง การสื่อสารในรูปอื่น ๆ เพื่อใช้ประโยชน์สำหรับการศึกษา
มาตรา ๖๗ รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและการพัฒนา ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้